มงคลคติในตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคล 72 พรรษา 28 กรกฎาคม 2567

Main Article Content

ธันยพงศ์ สารรัตน์

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาถึงมงคลคติในตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติ พระราชพิธีมหามงคล 72 พรรษา 28 กรกฎาคม 2567 ผลการศึกษาพบว่า   พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่ 10 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 โดยมีนายวิริยะ ชอบกตัญญู เป็นผู้ออกแบบตราสัญลักษณ์ และคณะกรรมการฝ่ายพิธีการจัดงานเห็นชอบให้มีการเผยแพร่ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีดังกล่าว ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ที่อุดมไปด้วยความหมายที่เกี่ยวกับพระเกียรติยศแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รวมทั้งมงคลคติหลายประการที่สะท้อนถึงคติความเชื่อเกี่ยวกับองค์พระมหากษัตริย์อย่างเป็นรูปธรรมและสง่างามยิ่ง และเป็นสิ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ และส่งเสริมสถานภาพในองค์พระมหากษัตริย์ไทย

Article Details

How to Cite
สารรัตน์ ธ. (2024). มงคลคติในตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคล 72 พรรษา 28 กรกฎาคม 2567 . วารสารการบริหารปกครองและนวัตกรรมสังคม, 1(02), 01–26. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/CLGJournal/article/view/1098
บท
บทความวิชาการ

References

กรมศิลปากร. (2564). นำชมพิพิธภัณฑถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

กรมศิลปากร. (2566). ภูมิบริรักษ์ : ครุฑ ยักษ์ นาค. กรุงเทพฯ: สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร.

กระทรวงวัฒนธรรม. (2564). พระมหากษัตริย์ไทยแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ 10 รัชกาล ฉบับการ์ตูน.กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม

ฉันทนา ปรรณารม. (2562). ประวัติศาสตร์ชาติไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วังอักษร.

ชาญชัย คงเพียรธรรม. (2558). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ : การศึกษาสัญลักษณ์สัตว์ในวัฒนธรรมเขมร. อุบลราชธานี: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ดนัย ไชยโยธา. (2540). มนุษย์กับอารยธรรมในเอเชียเล่ม 1. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ดนัย ไชยโยธา, บรรณาธิการ (2553). 53 กษัตริย์ไทย ธ ครองใจไทยทั้งชาติ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ทองเจือ เขียดทอง. (2548). การออกแบบสัญลักษณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สิปประภา.

ธงทอง จันทรางศุ. (2550). ในกำแพงแก้ว. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

ธงทอง จันทรางศุ และคณะ. (2567). สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม 23. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

ธนิต อยู่โพธิ์. และคณะ. (2549). พรหมสี่หน้า. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

ธันยพงศ์ สารรัตน์ และคณะ. (2562). มงคลคติ 10 ประการในตราสัญลักษณ์งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562. วารสารนิติรัฐกิจ. 2(1): 1-24.

ธันยพงศ์ สารรัตน์ และคณะ. (2566). สัญลักษณ์รูปครุฑ พระพรหมทรงหงส์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ และพระนาคปรก กับการแทนพระมหากษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ กรณีศึกษาภาพปูนปั้นประดับหน้าบันพระวิหารวัดมหาพุทาราม พระอารามหลวง อำเภอเมืองฯ จังหวัดศรีสะเกษ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เล่มที่ 1 วันที่ 21 พฤศจิกายน 2566. หน้า 215 – 230.

ธารณา คชเสนี และ น้ำเพ็ชร คชเสนี สัตยารักษ์. (2565). ประวัติศาสตร์ชาติไทยฉบับสมบูรณ์.บุรีรัมย์: บริษัท เพ็ชรลายสวัสดิ์ จำกัด.

ธิดา สาระยา. (2536). รัฐโบราณในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : กำเนิดและพัฒนาการ.กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

ธิดา สาระยา. (2532). (ศรี) ทวารวดี : ประวัติศาสตร์ยุคต้นของสยามประเทศ.กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

นนทพร อยู่มั่งมี และ พัสวีสิริ เปรมกุลนันท์. (2562). เสวยราชสมบัติกษัตรา. กรุงเทพฯ:มติชน.

ฝ่ายวิชาการ สถาพรบุ๊คส์. (2561). สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์.

พระยาสัจจาภิรมย์ (สรวง ศรีเพ็ญ). (2521). เทวกำเนิด. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.

พระอนาคตวงศ์. (2560). กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

มานิต หละบิลลส. (2555). การศึกษารูปแบบ สัญลักษณ์ และความหมายในธนบดีของ

พระมหากษัตริย์ จากเงินพดด้วงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1 ถึง 4).วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.ไทยคดีศึกษา). นนทบุรี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2550). ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร์ สยามมินทราธิราช. กรุงเทพฯ:ราชบัณฑิตยสถาน.

เรวัตร หินอ่อน. (2557). การใช้ตราราชการไทย พ.ศ.2394 ถึง พ.ศ.2482. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วุฒิชัย มูลศิลป์ และคณะ. (2550). พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.

ศานติ ภักดีคำ. (2557). นาค : บัลลังก์พระนารายณ์ ผู้พิทักษ์พระศาสนา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

ศานติ ภักดีคำ. (2559). พระอินทร์ : พระมหาเทวะผู้พิทักษ์พระพุทธศาสนา แบบอย่างของจิตอาสากรุงเทพฯ: อมรินทร์.

ศานติ ภักดีคำ. (2560). พระนารายณ์ : บัลลังก์พระนารายณ์ ผู้พิทักษ์พระศาสนา. กรุงเทพฯ:อมรินทร์.

ศิริ หนูแดง. (2554). ตราสัญลักษณ์ในงานพระราชพิธี. Journal of Art klonghok. 1(1): 2-31.

ศิริพงษ์ จารุรัตน์มงคล. (2562). เทคโนโลยีสัญลักษณ์นกยูงทองเพื่อการปกครองในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำแม่โขง. วิทยานิพนธ์ ปร.ด.(ยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค). สุรินทร์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

ศิริพงษ์ จารุรัตน์มงคล. (2562).เทคโนโลยีสัญลักษณ์นกยูงที่สัมพันธ์กับการปกครองในวิถีพุทธของชุมชน. วารสารวิชาการ มนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 3(1): 20-37.

สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (2547). เกร็ดประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.

ส.พลายน้อย. (2557). สัตว์หิมพานต์. กรุงเทพฯ: พิมพ์คำ.

ส.พลายน้อย. (2560). พฤกษนิยาย. กรุงเทพฯ: พิมพ์คำ.

สุรีย์ มีผลกิจ. (2547). ภาพเล่าพุทธประวัติ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

สำนักนายกรัฐมนตรี. (2556). พระราชลัญจกร. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักนายกรัฐมนตรี (2567). เปิดตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคล 72 พรรษา 28 กรกฎาคม2567. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ. (2550). ตราประทับ ตราประจำตัว และเครื่องรางยุคโบราณ. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.

เอนก มากอนันต์. (2560). จักรพรรดิราช : คติอำนาจเบื้องหลังชนชั้นนำไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.