ความคิดเห็นของประชาชนต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร

Main Article Content

ณัฐณิชานันท์ ใจจะดี
ธเนศพล อินทร์จันทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความคิดเห็นของประชาชนต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร  2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร  กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ จำนวน 354 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เท่ากับ .8656 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test, F-test เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ Scheffe


ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวม 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก (= 3.53 , S.D.= 0.19) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด อยู่ในระดับมาก (= 3.60 , S.D.= 0.35) รองลงมาคือ ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต อยู่ในระดับมาก (= 3.57 , S.D.= 0.30) และด้านศิลปะวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด อยู่ในระดับมาก  (= 3.46 , S.D.= 0.29)


ผลการเปรียบเทียบสมมติฐานพบว่าอายุ การศึกษา อาชีพ ที่แตกต่างกัน ในภาพรวม 5 ด้าน พบว่าแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ .05  ส่วนเพศที่แตกต่างกัน ในภาพรวม 5 ด้าน พบว่าแตกต่างกัน

Article Details

How to Cite
ใจจะดี ณ., & อินทร์จันทร์ ธ. (2025). ความคิดเห็นของประชาชนต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร . วารสารการบริหารปกครองและนวัตกรรมสังคม, 2(01), หน้า 70 – หน้า 77. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/CLGJournal/article/view/1264
บท
บทความวิจัย

References

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2566). การปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: กรม.

เกศา ชาวเรือ. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของตำรวจจราจร: กรณีศึกษา กองบังคับการตำรวจนครบาล 7. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาบริหารธุรกิจ (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

กฤษฎา ก้อนคำตัน. (2564). การนำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลไปสู่การปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลบ้านค้อ อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

โกวิทย์ พวงงาม. (2562). มิติใหม่การปกครองท้องถิ่น : วิสัยทัศน์กระจายอำนาจ และ

การบริหารงานท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2559). สถิติสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ: พิมพลักษณ์.

เจษฎา จันทบุรานันท์. (2561). การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติงานของ องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา.

จงรักษ์ มีอุสาห์. (2564). แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร

องค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัย.

ชนากานต์ ชัยรัตน์. (2560). ต้นทุนและผลตอบแทนจากผลิตภัณฑ์ผ้าหมักโคลนย้อมสีธรรมชาติของกลุ่มทอผ้าบ้านนาต้นจั่น ตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย

จังหวัดสุโขทัย. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ไชยวัฒน์ สุวรรณมาโจ. (2564). การดำเนินงานตามแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลไชยบุรี อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ตามความคิดเห็นของประชาชน. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ณรงค์ อดทน. (2560). ความคาดหวังของประชาชนต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบลวังหว้า อำเภอแกลง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ตุลา มหาพสุธานนท์. (2561). ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจในการทำงานของข้าราชการครู สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. วิทยานิพนธ์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2561). ทฤษฎีองค์การ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ทิวา ปฏิญาณสัจ. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานในทัศนะของพนักงาน บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาสำโรง. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาบริหารธุรกิจ (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

ธงชัย สันติวงษ์. (2561). องค์การและการบริหาร. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ธวัชกุล ยุคลธรรม. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจนครบาลบางมด กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ (การจัดการทั่วไป)

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2562). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS.

กรุงเทพฯ : บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

นิทัศน์ กับเป็ง. (2561). ประสิทธิผลในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัด

ลำพูน. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เมือง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ประสิทธิ์ วิวัฒน์ตระกูล. (2560). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการองค์การ

บริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์. ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ประทาน คงฤทธิศึกษากร. (2559). การปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

ปกรณ์ ประจันบาน. (2562). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิษณุโลก: รัตนสุวรรณการ.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2563). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

ประทีป ใจวรรณ. (2561). ผลสัมฤทธิ์ของการนำแผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2548-2560 ไปปฏิบัติ: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ประสิทธิ์ ลับไพรี. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ ในเขตทำเนียบรัฐบาล. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาบริหารธุรกิจ (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

ภูวดล สาริบุตร. (2563). สภาพการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนท้องถิ่นในหน่วยงาน

องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต

สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ไมตรี เศษโถ. (2560). ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติงานของตำรวจสายตรวจในเขตเทศบาลตำบลสุวรรณถูมิ อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ (การจัดการทั่วไป)

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

วรัญญา สิทธิโชค. (2561). ความรู้ความเข้าใจ และความคิดเห็นของนิสิตรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตที่มีต่อพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2560 ศึกษาเฉพาะ นิสิตรัฐประศาสนศาสตร

มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป

มหาวิทยาลัยบูรพา.

วรฉัตร ศรีกลับ. (2563). ความคิดเห็นของประชาชนต่อแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตพื้นที่อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขา รัฐประศาสนศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

วิโรจน์ สารรัตน์. (2562). การบริหารหลักการทฤษฎีและประเด็นทางการศึกษา.

กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2556). การวิจัยธุรกิจ. กรุงเทพฯ: เพชรจรัสแสงแห่งโลก.

สุพัตรา สุภาพ. (2559). ยุทธวิธีบริหารงานและการตลาดเหนือชั้น. กรุงเทพฯ: ฟอร์ควอลิตี้.

เสรี วงษ์มณฑา. (2561). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ้ากัด.

สมใจ ลักษณะ. (2562). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ:

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

สุวรรณา มาดี. (2562). ประสิทธิผลการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมพงษ์ เกษมสิน. (2562). การบริหาร. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สรชัย พิศาลบุตร. (2564). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

อัศนีย์ สุพรรณนนท์. (2563). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขยายโอกาส อำเภอแม่สรวย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

อารมณ์ เกตุแก้ว. (2563). ประสิทธิภาพการวางแผนพัฒนาและการปฏิบัติตามแผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหาร ส่วนตำบลยางตลาด อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อำพร เชาว์จันทร์. (2563). ความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วนตำบลเวียงสะอาด อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

Krejcie & Morgan. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), pp. 607-610.

Hillgard. (1962). Creating a Positive Work Place. J of Nursing Administration, 33(12), pp.652-665.

Good. (1973). Human Resqurce Management. New York: Prentice Hall.

Millet. (1954). Organizational Behavior (5th ed.). New Jersey: prentice Hall.