ความคิดเห็นของประชาชนต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ เทศบาลตำบลปลายบาง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี

Main Article Content

พัชรี ภู่สังวาลย์ทอง
กรรณสิทธิ์ สะและน้อย
เติมศักดิ์ สุวรรณศักดิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความคิดเห็นของประชาชนต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของเทศบาลตำบลปลายบาง  อำเภอบางกรวย  จังหวัดนนทบุรี


กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ จำนวน 354 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 05 ระดับที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เท่ากับ .8656 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  t-test, F-test เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ Scheffe


ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวม 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก ( x\bar{}= 3.53 , S.D.= 0.19) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด อยู่ในระดับมาก ( x\bar{}= 3.60 , S.D.= 0.35) รองลงมาคือ ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต อยู่ในระดับมาก ( x\bar{}= 3.57 , S.D.= 0.30) และด้านศิลปะวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด อยู่ในระดับมาก  ( x\bar{}= 3.46 , S.D.= 0.29)


ผลการเปรียบเทียบสมมติฐานพบว่าอายุ การศึกษา อาชีพ ที่แตกต่างกัน ในภาพรวม 4 ด้าน พบว่าแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ .05  ส่วนเพศที่แตกต่างกัน ในภาพรวม 4 ด้าน พบว่าแตกต่างกัน

Article Details

How to Cite
ภู่สังวาลย์ทอง พ., สะและน้อย ก., & สุวรรณศักดิ์ เ. (2025). ความคิดเห็นของประชาชนต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ เทศบาลตำบลปลายบาง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี. วารสารการบริหารปกครองและนวัตกรรมสังคม, 2(01), หน้า 56 – หน้า 69. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/CLGJournal/article/view/1262
บท
บทความวิจัย

References

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2563). การปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: กรม.

เกศา ชาวเรือ. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของตำรวจจราจร: กรณีศึกษา กองบังคับการตำรวจนครบาล 7. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาบริหารธุรกิจ (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

ประทาน คงฤทธิศึกษากร. (2559). การปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

ปกรณ์ ประจันบาน. (2557). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิษณุโลก: รัตนสุวรรณการ.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2556). การวิจัยธุรกิจ. กรุงเทพฯ: เพชรจรัสแสงแห่งโลก.

สุพัตรา สุภาพ. (2559). ยุทธวิธีบริหารงานและการตลาดเหนือชั้น. กรุงเทพฯ: ฟอร์ควอลิตี้.

เจษฎา จันทบุรานันท์. (2557). การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติงานของ องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา.

จงรักษ์ มีอุสาห์. (2559). แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร

องค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัย.

ณรงค์ อดทน. (2560). ความคาดหวังของประชาชนต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบลวังหว้า อำเภอแกลง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2557). ทฤษฎีองค์การ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS.

กรุงเทพฯ : บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

Krejcie & Morgan. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), pp. 607-610.

Hillgard. (1962). Creating a Positive Work Place. J of Nursing Administration, 33(12), pp.652-665.

Good. (1973). Human Resqurce Management. New York: Prentice Hall.

Millet. (1954). Organizational Behavior (5th ed.). New Jersey: prentice Hall.