การจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์

Main Article Content

supaporn jhantharit

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ 2) เพื่อศึกษาระดับตัวแปรปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ 3)เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างจากสูตรทาโร่ ยามาเน่ ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ จำนวน 302 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์โดยหา ความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ วิเคราะห์โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์  


ผลวิจัยพบว่า 1) การศึกษาระดับการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบล


เมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) การศึกษาระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ สามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 53.2 (Adjusted = .532) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถเขียนเป็นพยากรณ์ในรูปแบบคะแนนดิบและสมการถดถอย ได้ดังนี้


Y


บทคัดย่อ


 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ 2) เพื่อศึกษาระดับตัวแปรปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ 3)เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างจากสูตรทาโร่ ยามาเน่ ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ จำนวน 302 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์โดยหา ความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ วิเคราะห์โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์  


ผลวิจัยพบว่า 1) การศึกษาระดับการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบล


เมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) การศึกษาระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ สามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 53.2 (Adjusted = .532) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถเขียนเป็นพยากรณ์ในรูปแบบคะแนนดิบและสมการถดถอย ได้ดังนี้


Y = .138 + -.204()+.489()+.176()+.141()  และZ = -.197()+.684()+.126()+.137()  


4) การวิเคราะห์เกี่ยวกับความต้องการและข้อเสนอแนะของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิจังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ความต้องการและข้อเสนอแนะของผู้สูงอายุในพื้นที่ ที่ได้แสดงความคิดเห็นมากที่สุด คือ ผู้สูงอายุต้องการอยากได้เบี้ยยังชีพจากรัฐบาลเพิ่มเพื่อให้เพียงพอต่อการดำรงชีวิต


 


ความสำคัญ      ผู้สูงอายุ , การจัดสวัสดิการ


= .138 + -.204()+.489()+.176()+.141()  และZ = -.197()+.684()+.126()+.137()  


4) การวิเคราะห์เกี่ยวกับความต้องการและข้อเสนอแนะของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิจังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ความต้องการและข้อเสนอแนะของผู้สูงอายุในพื้นที่ ที่ได้แสดงความคิดเห็นมากที่สุด คือ ผู้สูงอายุต้องการอยากได้เบี้ยยังชีพจากรัฐบาลเพิ่มเพื่อให้เพียงพอต่อการดำรงชีวิต


 


ความสำคัญ      ผู้สูงอายุ , การจัดสวัสดิการ

Article Details

How to Cite
jhantharit, supaporn. (2024). การจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารการบริหารปกครองและนวัตกรรมสังคม, 1(02), 41–57. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/CLGJournal/article/view/1103
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2558). คู่มือสิทธิประโยชน์ด้านสวัสดิการสังคมสำหรับประชาชน. สืบค้นจาก : https://chumphon.m-society.go.th.

เกษรา ชัยเหลืองอุไร. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบระบบสวัสดิการสังคมระหว่างประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์. กรุงเทพฯ: สถาบันการต่างประเทศเทวะวงศ์วโรปการ. กระทรวงการต่างประเทศ.

งามรดา ประเสริฐสุขและพิชัยรัฐ หมื่นด้วง. (2564). การจัดสวัสดิการสังคมให้ผู้สูงอายุในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ. วารสารวิจัยธรรมศึกษา, 4(2) ,73. สืบค้นจาก : https://so07.tci-thaijo.org.

นงนุช สุวรรณรัตน์. (2563). การจัดสวัสดิการผู้สูงอายุในประเทศไทย: ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาและการจัดการ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

ประสิทธิ์ เจตน์ทรงธรรม. (2566). ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการนำนโยบายสวัสดิการผู้สูงอายุไปปฏิบัติ: กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 7(2) ,5. สืบค้นจาก : https://so03.tci-thaijo.org.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2547). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปาริฉัตร พันธุ์ภักดี. (2564). ความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุที่มีภูมิลําเนาและอาศัยอยู่ใน

เขตองค์การบริหารส่วนตําบลตะคร้ำเอน อําเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี. กาญจนบุรี:

มหาวิทยาลัยศิลปากร

พงษ์สุธีรัฐ ฐิตินันท์.(2560). การจัดสวัสดิการผู้สูงอายุในประเทศไทย : แนวทางและความท้าทาย. วารสารสังคมสงเคราะห์.

พีรดาว สุจริตพันธ์.(2565).การบริหารจัดการสวัสดิการผู้สูงอายุ: เปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามนโยบายโมเดลประเทศไทย4.0, วารสารวิชาการ, 7(11), 359-370. สืบค้นจาก : https://so02.tci-thaijo.org.

ภัทรวรรณ โพธิ์เขียว. (2562). การสนับสนุนและความเข้าใจในองค์กร. วารสารการบริหารจัดการ

สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2562). การพัฒนาภาวะผู้นำในองค์กร. วารสารการบริหารจัดการ.

สมาน รังสิโยกฤษฎ์. (2558). การบริหารจัดการองค์กร: ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุชาติ ศรีแสง. (2561). ความหมายของทรัพยากรนโยบาย. วารสารวิจัยทางนโยบาย.

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10. (2562). คู่มือแนวทางการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ. เอกสารวิชาการ. สืบค้นจาก : https://www.dop.go.th.

ศศิวิมล กองทรัพย์เจริญ. (2563). ความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในเขตตำบลตาสิทธิ์

อำเภอปลวกแดงจังหวัดระยอง. ระยอง:มหาวิทยาลัยบูรพา