ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการใช้บริการแอปพลิเคชัน BMA Q ของกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
ความสำเร็จของแอปพลิเคชัน, การใช้บริการแอปพลิเคชัน, แอปพลิเคชัน BMA Qบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการใช้บริการแอปพลิเคชัน BMA Q ของกรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างด้วยแบบสอบถามจากผู้ที่เคยใช้บริการแอปพลิเคชัน BMA Q ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 480 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และวิเคราะห์หาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการใช้บริการแอปพลิเคชัน BMA Q ของกรุงเทพมหานครด้วยแบบจำลองสมการโครงสร้าง (Structural Equation Model: SEM)
ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านความน่าเชื่อถือของหน่วยงานและการเข้าถึงแอปพลิเคชันในการใช้งานส่งผลต่อทัศนคติในการใช้งานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ที่ระดับ 0.01 และ 0.10 ในขณะที่ปัจจัยด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ในการใช้งานและการรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งานไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ และทัศนคติในการใช้งานส่งผลต่อความสำเร็จในการใช้บริการแอปพลิเคชัน BMA Q ของกรุงเทพมหานครอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
References
จิรภัทร มิขันหมาก และคณะ. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานแอปมลิเคชันเป๋าตัง. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 2564. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. 103 - 203.
พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562. (2562, 22 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 136 ตอนที่ 37 ก, หน้า 57-66.
พัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล และคณะ. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้บริโภคในการใช้บริการแอปพลิเคชัน ของฟู้ดแพนด้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(2), 29-42.
สรวรรณ อินทโสตถิ. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจในการใช้แอปบริการสารสนเทศของหน่วยงานด้านสาธารณูปโภคภาครัฐ. วารสารระบบสารสนเทศด้านธุรกิจ, 5(3),31-43.
สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) . (2567). พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562, เรียกใช้เมื่อ 16 ตุลาคม 2567, จาก https://www.dga.or.th/policy-standard/policy-regulation/dga-dg-256/dga-046/
สำนักงานเขตบางเขน. (2565). BMA Smart Service. เรียกใช้เมื่อ 20 เมษายน 2566, จาก https://webportal.bangkok.go.th/bangkhen/page/sub/21988/E-Service/0/info/292045/BMA-Smart-Service.
สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร. (2561). คู่มือแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ. 2561 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อุดมโชค อาษาวิมลกิจ. (2565). แอปพลิเคชันภาครัฐ: คุณภาพและบริการสาธารณะในยุคดิจิทัล. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 30(2), 206-231.
Davis, F. D., Bagozzi, R.P., & Warshaw, P.R. (1989). User acceptance of computer technology: A comparison of two theoretical models. Management Science, 35(8), 982-1003.
Fishbein, M., & Ajzen, I. (1975). Belief, attitude, intention, and behavior: An introduction to theory and research. Reading, Addison-Wesley, MA.
Parasuraman, A. P., Zeithaml, V., & Malhotra, A. (2005). E-S-Qual: A Multiple-Item Scale for Assessing Electronic Service Quality. Journal of Service Research, 7, 213-233.
Rogers, E.M. (1983). Diffusion of innovations (3th ed.). New York: Free Press.
Sahin, I. (2006). Detailed Review of Rogers' Diffusion of Innovations Theory and Educational Technology-Related Studies Based on Rogers' Theory. The Turkish Online Journal of Educational Technology, 5(2), 14-23.
Yamane, T. (1967). Elementary Sampling Theory. New Jersey: Prentice Hall, Inc., Engle clips.