Developing Learning Materials using Canva Program on Digital Citizenship Computing Science Course
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were: 1) to develop learning materials using Canva Program on Digital Citizenship in Computing Science Course and 2) to study learning achievement using Canva Program on Digital Citizenship in Computing Science Course. The sample group was 40 students in the Department of Digital Technology for Education, Faculty of Education, Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, semester 2 of the academic year 2021. A simple random sampling method was used, totaling 40 people. The research tools were: 1) learning media using Canva Program and 2) test to measure learning achievement before and after classes. Data were analyzed using statistics such as percentage, mean, standard deviation, Index of Item Objective Congruence (IOC), Dependent t-test statistics
The results of the research found that: 1) the learning media was developed using the Canva Program on the subject of Digital Citizenship, Computing Science Course. The overall assessment results were at the highest level, the efficiency was 85.00/88.33 according to the 80/80 criteria, and 2) the learning achievement after school had a higher average score than before with a statistically significant level of 0.05.
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารครุศาตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรราช
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
References
บุญมี ชุติมาธรสาร และวิมาน ใจดี. (2560). การพัฒนาสื่อการสอนด้วยโปรแกรม Captivate สำหรับการเรียนรู้ด้วยตนเอง รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านนวัตกรรมการเรียนรู้และสิ่งประดิษฐ์ 2560. หน้า 781-787.
พงษ์พิพัฒน์ สายทอง. (2560). การพัฒนาโมชันอินโพกราฟิกเพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคราม. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2560. หน้า 1330-1341.
ศิริพล แสนบุญส่ง นิป เอมรัฐ และศักดา จันทราศรี. (2561). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง โปรแกรมค้นหา สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดพระขาว (ประชานุเคราะห์) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561. หน้า 1-15.
สุฑามาศ แก้วมรกต และอภิชา แดงจำรูญ. (2564). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การออกแบบภาพกราฟิก สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564. หน้า 303-317.
สุพัตรา ชาติบัญชาชัย. (2548). กระบวนการเรียนรู้: แนวคิด ความหมาย และบทเรียนในสังคมไทยโครงการสร้างเสริมการเรีนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข. กรุงเทพฯ.
Bloom, B. S., Englehart, M. D., Furst, E. J., Hill, W. H., & Krathwohl, D. R. (1956). Taxonomy of education objectives, handbook I: The cognitive domain. New York: David McKay Co Inc.