Active Learning : กระบวนการเรียนรู้เชิงรุกที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณ
สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์

บทคัดย่อ

Active Learning นับเป็นนวัตกรรมการสอนใหม่ที่ต้องการให้ผู้เรียนเป็นผู้คิด ผู้ลงมือทำ ผู้ค้นหา โดยการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองจากกระบวนการคิดขั้นสูง ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของหลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญผ่านการพูด-การฟัง  การเขียน  การอ่าน  และการสะท้อนคิด  ผู้สอนต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์เพื่อชี้แนะให้แก่ผู้เรียนไปสร้างนวัตกรรมหรือผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง มีการใช้กระบวนการที่เหมาะสมที่สามารถสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงไปยังหน่วยงานหรือชุมชนได้อย่างแท้จริง โดยมีปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวข้องอยู่  5 ด้าน  ได้แก่ ด้านสภาวะการณ์  ด้านเป้าหมาย  ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการสะท้อนกลับ  และด้านการวัดและประเมินผล

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

สมชาย สุนทรโลหะนะกูล และคณะ. (2559). การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning). สารแพทยศาสตรศึกษา มอ. 2(1), มกราคม - มีนาคม 2559.

สุภัทรา ภูษิตรัตนาวลี, ประทีป จินงี่ และชุลีกร ยิ้มสุด. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับคณาจารย์วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. 10(1), มกราคม -มิถุนายน 2560. 151-158.

อริยา คูหา, สรินฎา ปุติ และฮานานมูฮิบบะตุดดีน นอจิ. (2562). โลกที่เปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ที่ผ่านสู่ Active Learning. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 30(2), พฤษภาคม-สิงหาคม 2562. 1-13.

อภิลักษณ์ ธรรมวิมุตติใ (2564). การศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการทั่วไป ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ของมหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง ปีการศึกษา 2563. การประชุมวิชาการระดับชาติราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงวิจัย ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง “สร้างสรรค์งานวิจัยบนฐานของนวัตกรรมสู่การยกระดับเศรษฐกิจฐานราก” และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 2021, วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง จ.ราชบุรี

Bonwell, C.C., & Eison, J.A. (1991). Active learning : Creating Excitement in the Classroom. ASHE-ERIC Higher Education Report No. 1. Washington, D.C. : The George Washington University, School of Education and Human Development.

Bonwell, C.C. (2003). Active Learning : Creating Excitement in the Classroom (Online) Availble www.active-learning-site.com.

Gleason, B.L., Peeters, M.L., Resman-Targoff, B.H., Karr, S., McBane, S, Kelley, K., Thomas, T.& Denetclaw, T.H. (2011). An Active-Learning Strategies Primer for Achieving Ability-Based Education Outcomes. American Journal of Pharmceutical Education. 75(9), 186. Doi : https://doi.org/10.5688/ajpe759186.

Francis, L. (2014). What do you mean by active learning and passive learning ? Retrieved May 31, 2022, form www.researchgate.net/post/What_do_you_mean_by_active_learning_ and_passive.

Gifkins, J. (2015). What is Active Learning and Why is it important?. E-international relations. [Online], Available : http:// www.e-ir.info/2015/10/08/what-is-active learning-and-why-is-important. (2022, 25 May).

Meyers, C. & Jones, T. (1993). Promoting active learning : strategies for the college classroom. San Francesco : Jossey-Bass.

Michel, N., Cater, J., & Varela. O. (2009). Active versus passive teaching styles : An empirical study of student learning outcomes. Human Resource Development Quarterly. 20(4),