การบรูณาการแบบมีส่วนร่วมและมุ่งผลสัมฤทธิ์ เพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจฐานราก ยุคไวรัส COVID - 19 จังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

นพรัตน์ ชัยเรือง
นิตยารัตน์ คงนาลึก
อรดา โอภาสรัตนากร

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการแบบมีส่วนร่วมและมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจฐานรากในช่วงการระบาดของไวรัส COVID - 19 โดยการจัดการความรู้ การวิจัยเพื่อการใช้ประโยชน์เชิงชุมชนและสังคม สาระสำคัญของบทความ คือ แนวทางการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการแบบมีส่วนร่วมและมุ่งผลสัมฤทธิ์ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นการวางแผน ขั้นดำเนินการ ขั้นกำกับติดตาม ขั้นประเมินผลและสะท้อนผลการดำเนินงานโครงการ มี 11 ขั้นตอนย่อย ประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย 2) การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการของเกษตรกร ผู้ประกอบการและชุมชน 3) การทบทวนวรรณกรรม 4) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและชุมชน 5) การประชุมทีมนักวิจัยและตัวแทนเกษตรกร ผู้ประกอบการและชุมชน เพื่อเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อนโครงการ 6) การดำเนินจัดกิจกรรมตามแผนงานของโครงการ 7) การกำกับและติดตาม 8) การประเมินการดำเนินโครงการ 9) การสรุปผลการดำเนินโครงการ 10) การสะท้อนผลการดำเนินโครงการ และ 11) การส่งมอบผลการดำเนินโครงการต่อหน่วยงานในท้องถิ่น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เจษฎา นกน้อย . (2552). การจัดการความหลากหลายในองค์กร: ตัวแบบทางด้านทรัพยากรมนุษย์เพื่อความเท่าเทียมกันของผู้มีอัตลักษณ์หลากหลายทางเพศ.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรมหาวิทยาลัย.

คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์เศรษฐกิจฐานราก. (2559). คู่มือการส่งเสริมการพัฒนา “ระบบเศรษฐกิจฐานราก”. กรุงเทพฯ: สำนักสนับสนุนขบวนองค์กรชุมชนและสำนักสื่อสารการพัฒนาสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน

ชลิดา ศรมณี. (2561). เอกสารประกอบการบรรยายกระบวนวิชาขอบข่ายและแนวคิดเชิงทฤษฎี รัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชลิดา ศรมณี. (2562). เอกสารประกอบการบรรยายกระบวนวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคาแหง, โครงการรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต.

นันทกิตติ แก้วกล้า. (2553) การมีส่วนร่วมของครูผู้สอนในการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนเขตตำบลท่ากระดาน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1, สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, ชลบุรี: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

พรธิดา วิเชียรปัญญา. (2547). การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: ธรรกมลการพิมพ์.

พิณสุดา สิริธรังศรี. (2558). แก่นการจัดการศึกษา ชุดโครงการการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม : การศึกษาเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชน. กรุงเทพฯ: DPU Cool print มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

รัตน์ฐาภัทร์ ธนโชติสุขสบาย. (2557). ทักษะทางวิทยาศาสตร์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการ บริหารแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วันชัย มีชาติ. (2556). พฤติกรรมการบริหารองค์การสาธารณะ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิเชียร มันแหล่ และคณะ. (2564). ผลกระทบและการปรับตัวของประชาชนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคโควิด-19 จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารมหาจุฬานาครทรรศ. 8 (11), พฤศจิกายน 2564.

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน. (2559). คู่มือการส่งเสริมการพัฒนาระบบเศรษฐกิจฐานราก. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน

สุภัททา อินทรศักดิ์. (2561). การนำเสนอรูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ. วิทยานิพนธ์ กศ.ด. (การบริหารการศึกษา). พระนครศรีอยุธยา: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา.

สำนักงานข้าราชการพลเรือนและสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2549). คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ:สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช. (2564). สถานการณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช. จาก https://www. nakhonsihealth.org/, เมื่อ 5 สิงหาคม 2564.

Austin, J & Seitanidi, M. (2011). Social Enterprise No 32: Value Creation in Business – Nonprofit Collaboration. September 26, 2011.

Bruce, E. (2010). Navigating: A Grounded Theory Study of How School Administrators Prepare to Lead. (Dissertation Doctor of Education). Fielding Graduate University.

Jittima Akkarathitipong. (2013). Human Resource Development. Phra Nakhon Si Ayutthaya: Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University Press.

Spitz & Geffen. (2016). Cross-Sector Partnerships for Sustainable Development, Kaleidos Research.