การปรับตัวและการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
คำสำคัญ:
การปรับตัว, การพัฒนาบุคลากร, เทคโนโลยีดิจิทัลบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการปรับตัวและการพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งในปัจจุบันสังคมโลกได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก และระบบเทคโนโลยีดิจิทัลถูกนำมาประยุกต์ใช้ภายในองค์การ เพื่อความสะดวก สบาย รวดเร็ว เพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลต่อการปฏิบัติงาน และตอบสนองความต้องการของประชาชน ดังนั้นเพื่อให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมยุคดิจิทัล บุคลากรจึงต้องมีการปรับตัวและพัฒนาตนเอง โดยปฏิบัติได้สองแนวทางคือ การฝึกอบรม (training) และการศึกษา (education or further study) เพื่อเพิ่มทักษะ ความรู้ ความสามารถ และการปรับตัวเพื่อพัฒนาบุคลากรทางด้านทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล สามารถปฏิบัติได้โดยมีขั้นตอนปฏิบัติ 6 ขั้นตอน 1. การเพิ่มคุณค่างาน 2. การลงมือปฏิบัติ 3. เรียนรู้ข้อขัดข้องของตน 4. ให้บุคลากรที่มีความรู้ทางด้านดิจิทัลมาชี้แนะแนว 5. การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ 6. การอบรม เพื่อให้เข้าใจถึงหลักของการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ สามารถนำความรู้ทักษะที่ได้มาไปต่อยอดเพื่อพัฒนาองค์การ
References
กลุ่มงานวิชาการคอมพิวเตอร์กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2567). รู้หรือยัง พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 นำไทยเข้าสู่ยุค“ดิจิทัล”. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567. เข้าถึงได้จาก https://www.dla.go.th/upload/templateOrganize/menu/2020/7/1594983167938.pdf.
สำนักงานเลขานุการ สำนักการแพทย์. (2563). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสำนักงานเลขานุการ. สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2564 – 2567). กรุงเทพมหานคร.
นิตยา สุริน. (2562). การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการเปลี่ยนสู่ยุคดิจิทัล : กรณีศึกษาสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลสำนักงานศาลยุติธรรม.
นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2525). ก้าวเข้าสู่ผู้บริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : อนงค์ศิลป์การพิมพ์.
ทีฆายุ วันเนา. (2565). การนำเทคโนโลยีดิจิทลัมาใช้ในการปฏิบตัิงาน : กรณีศึกษากลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
ประชุม รอดประเสริฐ. (2528). การบริหารบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : แผนกคำสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
พนัส หันนาคินทร์. (2526). การบริหารบุคลากรในโรงเรียน. พิษณุโลก : โครงการตำรามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก.
สมาน รังสิโยกฤษฎ์. (2522). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ : สวัสดิการสำนักงาน ก.พ.,
สำนักงานข้าราชการพลเรือน. (2567). Digital literacy คืออะไร. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567. เข้าถึงได้จาก https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp.
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2567). ทักษะดิจิทัลก้าวสู่พลเมืองใน ศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567. เข้าถึงได้จาก https://www.ops.go.th/th/content_page/item/1355-goto-citizens21st.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมพัฒนาที่ดิน. (2567). ขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาที่ดิน ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลสู่การเป็น SMART LDD. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567. เข้าถึงได้จาก https://webapp.ldd.go.th/ICTWeb/index.php.
Case Study. (2567). รู้จักใช้ Digital technology ถ้าอยากให้ธุรกิจชนะคู่แข่ง. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567. เข้าถึงได้จาก https://www.talance.tech/blog/how-to-use-digital-technology/.