ธรรมาภิบาลสำหรับนักบริหารมืออาชีพ
คำสำคัญ:
ธรรมาภิบาล, นักบริหาร, มืออาชีพบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อธรรมาภิบาลสำหรับนักบริหารมืออาชีพ เพราะโลกในยุคไร้พรมแดน แม้จะมีการพึ่งพาอาศัยกัน แต่ก็มีการแข่งขันต่อสู้ในเชิงเศรษฐกิจควบคู่กันไปด้วยทำให้ผู้บริหารมืออาชีพจะต้องมีความพร้อมที่จะแข่งขันกับนานาประเทศในระดับโลกทุกรูปแบบโดยไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคใด ๆ แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นก็พร้อมจะเผชิญกับความไม่แน่นอนที่อาจส่งผลกระทบต่อองค์กรทั้งในมุมบวกและมุมลบโดยผู้บริหารจะต้องสามารถปรับตัวและแก้ไขสถานการณ์ที่เลวร้ายให้กลายเป็นดีได้
References
กานต์ บุญศิริ และพจนารถ พรเจริญวิโรจน์. (2557). ภาวะผู้นำกับการเป็นนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน. หน้า 1-16.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2557). ข้อคิดเพื่อการสร้างวิสัยทัศน์. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2557. เข้าถึงได้จาก : http://cdlkorat.cdd.go.th.
จำลอง นักฟ้อน. (2543). เส้นทางสู่นักบริหารการศึกษามืออาชีพ. สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา. 17(5). หน้า 3-5.
ชัยยนต์ เพาพาน. (2559). ผู้บริหารโรงเรียนยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21. วารสารคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 1(1), หน้า 304-306.
ณัฐชา พิกุลทอง. (2559). คุณลักษณะผู้บริหารมืออาชีพกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ถวิล อรัญเวศ. (2561). คุณลักษณะของนักบริหารยุคไทยแลนด์ 4.0. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2561, เข้าถึงได้จาก : http://www.obec.go.th/news/82582.
ถวิลวดี บุรีกุล. (2551). การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี. ในประมวลชุดวิชาการบริหารภาครัฐ (หน่วยที่ 10). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2542). การสร้างธรรมาภิบาลในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ตุลาการพิมพ์.
ทองทิพภา วิริยะพันธุ์. (2546). มนุษยสัมพันธ์กับการบริหาร. กรุงเทพฯ : อินฟอร์มีเดีย บุ๊คส์.
ภาสินี สวยงาม. (2563). คุณธรรมสำหรับผู้บริหาร. รายงานวิชาจริยธรรมและความเป็นมืออาชีพของนักบริหารการศึกษา. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ภูดิศ นอขุนทด. (2565). หลักธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2565). หน้า 1029-1044.
รัชยา ภักดีจิตต์. (2557). ธรรมาภิบาลเพื่อการบริหารภาครัฐแลภาคเอกชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วณิช วรรณพฤกษ์. (2550). Professionalism. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2567. เข้าถึงได้จาก : http://sut.ac.th/tedu/traning/professional1.pdf.
สุเมธ แสงนิ่มนวล. (2552). ภาวะผู้นำกับธรรมาภิบาลในการบริหารงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร. ส เจริญ การพิมพ์.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2538). วิสัยทัศน์ของผู้บริหารการศึกษา. ในประมวลสารชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพบัณฑิตบริหารการศึกษา เล่มที่ 1. หน่วยที่ 1. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2549). โครงการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท. กรุงเทพมหานคร: ดอกเบี้ย.
หวน พินธุพันธ์. (2549). การบริหารการศึกษา:นักบริหารมืออาชีพ. นททบุรี. พินธุพันธ์.
อานันท์ ปันยารชุน. (2542). ธรรมาภิบาลในการบริหารวิทยาลัยในนานาทัศนะว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. นนทบุรี : สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
Rhodes, R.A.W. (1996). The New Government: Governing without Government. Oxford: University of Newcastle-Tyne.