การพัฒนาตนเองผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) ของสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
คำสำคัญ:
การพัฒนาตนเอง, ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning), สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) รูปแบบการพัฒนาตนเองผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) 2) แนวทางการพัฒนาตนเองของบุคลากร 3) ระดับการพัฒนาตนเองของบุคลากร 4) ผลกระทบของปัจจัยต่างๆ ที่มีต่อการพัฒนาตนเองของบุคลากร โดยเลือกสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม เป็นกรณีศึกษา ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ ผลการศึกษาพบว่า 1) รูปแบบการพัฒนาตนเองผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) ทั้ง 5 ด้านโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านคุณสมบัติส่วนตัวความเชื่อ 2) แนวทางการพัฒนาตนเองของบุคลากรสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ได้แก่ การศึกษาหาความรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง เข้าเรียนหลักสูตรวิชาที่สนใจผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning)3) ระดับการพัฒนาตนเองของบุคลากรสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม มีการพัฒนาตนเองอยู่ในระดับมาก 4) การศึกษา การฝึกอบรม และการพัฒนามีผลกระทบต่อการพัฒนาตนเองของบุคลากรสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
References
กมลฉัตร อยู่เจริญพงษ์. (2564). ความต้องการพัฒนาตนเองของบุคลากรเทศบาลเมืองบ้านสวน อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
กิติศักดิ์ สวัสดิ์ศรี. (2566). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาตนเองของข้าราชการธุรการในการใช้เทคโนโลยี000ดิจิทัล สำนักงานอัยการสูงสุด. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เฉลิมพล ศรีหงษ์. (2566). เอกสารประกอบการบรรยายกระบวนวิชาระเบียบวิธีวิจัย
ทางรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง,
โครงการรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต.
ชุติกาญจน์ สลาหลวง. (2563). ความต้องการและความคาดหวังในการพัฒนาตนเองของข้าราชการครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 จังหวัดตรัง. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ธีรวดี ยิ่งมี และมงคลชัย โพล้งศิริ. (2562). ความต้องการในการพัฒนาตนเองของบุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
เนตรนภา ศรีมหาโพธิ์. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาตนเองในองค์กรดิจิทัลของบุคลากรสำนักงาน เลขาธิการสำนักงานอัยการสูงสุด. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
บุญมี พันธุ์ไทย. (2545). ระเบียบวิธีวิจัยการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พุทธิพงค์ มีทอง. (2565). ความต้องการในการพัฒนาตนเองของบุคลากร: กรณีศึกษาสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ในเขตกรุงเทพมหานคร. สาขาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วรารัตน์ ชูทอง. (2561). ปัจจัยต่อการพัฒนาศักยภาพข้าราชการศาลยุติธรรมในเขตอำนาจศาลท้องที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วศิณ ศรีวิทยารัตน์. (2566). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาตนเองของข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สาธินี หมัดสะและ. (2566). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานของพนักงาน 0000000บริษัทเจียไต๋. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล.
สำนักงานข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.), ม.ป.ป. Digital literacy Project โครงการพัฒนาทักษะความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม2566, จาก http://www.ocsc.go.th/dlproject/process-dev
สำนักงานข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.), ม.ป.ป. แนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ พ.ศ. 2563 – 2565. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2566, จาก https://www.ocsc.go.th/CIVILSERVICE#GSC.TAB=0&gsc.tab=0
สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) (สพร.), กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.). ม.ป.ป. แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ.2566 – 2570.
ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2566, จาก https://cio.mhesi.go.th/node/4149
อรรถพล หวังสู่วัฒนา. (2562). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในบริษัทเชื้อเพลิงการบิน จำกัด จังหวัดสมุทรปราการ. การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2024 เสาวณีย์ บุญสูง, วีณา พึงวิวัฒน์นิกุล, เฉลิมพล ศรีหงษ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.