แนวโน้มสถาบันครอบครัวไทยในกระแสนิยมใหม่ของความหลากหลายทางเพศ
คำสำคัญ:
สถถาบันครอบครัว, ความหลากหลายทางเพศ, กระแสนิยมใหม่บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตของสถาบันครอบครัวไทยในกระแสนิยมใหม่ของความหลากหลายทางเพศ เพื่อแนะนำต่อครอบครัวที่มีบุตรที่มีความหลากหลายทางเพศ และเสนอแนะวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้อง โดยใช้วิธีวิจัยเชิงเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า สถาบันครอบครัวมีบทบาทสำคัญมากต่อประเทศชาติ โดยทำหน้าที่ให้กำเนิด เลี้ยงดู สั่งสอน ปลูกฝังค่านิยมทางวัฒนธรรมและสังคมแก่ลูกหลาน ที่เติบโตมาในยุคแห่งความก้าวหน้าของนวัตกรรม การสื่อสารระบบดิจิทัล เป็นช่วงอายุของคนรุ่นใหม่ จึงมีทักษะการค้นคว้าหาและเปิดรับข้อมูลข่าวสาร แทนคำสั่งของครอบครัว ซึ่งหล่อหลอมแนวคิด พฤติกรรมเลียนแบบจากวัฒนธรรมและอารยะสังคมโลก ส่งผลให้ อัตลักษณ์ทางเพศของลูกหลานเปลี่ยนไปในลักษณะ LGBTQI ดังนั้นหน้าที่ของพ่อแม่และครอบครัว ควรปรับแนวคิด ให้การยอมรับความเป็นตัวตนตามวิถีทางเพศที่ยึดเลือกมา เปิดพื้นที่ความเท่าเทียมทางเพศ เพื่อให้ลูกหลานดำเนินชีวิตได้อย่างภาคภูมิใจ สามารถดึงศักยภาพในตัวออกมาสร้างคุณค่าอย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ผลิตจากสถาบันครอบครัวที่คงบทบาทสำคัญต่อประเทศชาติ ในบริบทสังคมที่ให้เกียรติซึ่งกันและกัน
References
กณิกาพร บุญชูฐ. (2555). การรับรู้ ค่านิยม และพฤติกรรมทางเพศ ของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม. วารสารวิทยาลัยคริสเตียน, 10(1), 110-128.
กรมกิจการสตรีและครอบครัว. (2567). 7 วิธีการง่าย ๆ สร้างครอบครัวของเราให้เข้มแข็ง. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2568 จาก https://www.dwf.go.th/contents/69586
กรรณิการ์ มีสวัสดิ์. (2561). การให้คำปรึกษาผู้สูงอายุในครอบครัวแบบสังคมเมือง. วารสารพุทธจิตวิทยา, 3(2), 14-27.
กฤตยา อาชวนิชกุล และกาญจนา ตั้งชลทิพย์. (2551). บทโหมโรงมิติ “เพศ” ในประชากรและสังคม. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม.
กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุล. (2558). การศึกษาระบบอุปถัมภ์กับปัญหาสังคมไทย: การประยุกต์ใช้ ของนักสังคมสงเคราะห์วิชาชีพ. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 23(1), 177-197.
จิราภรณ์ อรุณากูร และธเนศ แก่นสาร. (2017). เหตุผลของความหลากหลายทางเพศ. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2568 จาก https://youtu.be/znrXuKqcqFc
จุฑามาศ รอดสน. (2560). คุณลักษณะผู้ใหญ่บ้านในความต้องการของประชาชน หมู่ที่ 5 ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล. (2021). When Family Changes Social Media’ : มองความสัมพันธ์ครอบครัวยุคดิจิทัล กับ แดเนียล มิลเลอร์. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2568, จาก https://www.the101.world/daniel-miller-digital-family-interview/
ณัฎฐณิชา เหล็กกล้า. (2564) การเปลี่ยนแปลงวาทกรรมเกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศในแบบเรียนเพศวิถีศึกษา จากความผิดปกติสู่การยอมรับภายใต้พหุวัฒนธรรมที่เป็นเพียงวาทกรรม. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 40(2), 79-95.
ท่องเที่ยวทั่วไทย. (2560). โครงสร้างของสังคมไทย. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2568, จาก http://www.meemodo.com/THThaistucture.html
ธนกร วรพิทักษานนท์. (2566). การต่อรองและการสยบยอมต่อความไม่เท่าเทียมทางเพศในด้านชีวิตคู่ของกลุ่มคู่รักเพศเดียวกัน. วารสารสังคมวิจัยและพัฒนา, 5(3), 1-27.
ธัญญาภัส ทองมุสิทธิ์. (2562). กฎหมายต้นแบบในการรับรองและคุ้มครองสิทธิการสมรสของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ. วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
นิเทศ ตินณะกุล. (2551). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะรัฐศาสตร์, โครงการผลิตตำราและเอกสารการสอน.
ปฐมวัยไทยแลนด์. (2566). วิกฤตสถานการณ์ครอบครัวปัจจุบันมีขนาดเล็กและเปราะบางยิ่งขึ้น. สืบค้นเมื่อ 8 ธันวาคม 256, จาก https://www.thaihealth.or.th/?p=231489
ภูเบศร์ สมุทรจักร, กมลชนก ขำสุวรรณ และพิมลพรรณ นิตย์นรา. (2562). ครอบครัว “เปราะบาง” เมื่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมทำร้ายครอบครัวไทยและทิ้งใครหลายคนไว้เบื้องหลัง. นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล,สถาบันวิจัยประชากรและสังคม.
เมธิรา ไกรนที. (2563). ครอบครัว: สถาบันหลักทางสังคมกับบทบาทการพัฒนามนุษย์แบบองค์รวม. วารสารปาริชาติ, 33(1), 1-16.
โรงพยาบาลเปาโล เกษตร. (2567). LGBTQ ความหลากหลายที่ไม่แตกต่างในสังคม. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2568, จาก https://www.paolohospital.com/th-th/kaset/Article/Details/ LGBTQ-ความหลากหลายที่ไม่แตกต่างในสังคม
วรารัตน์ ประทานวรปัญญา. (2563). การเสริมสร้างการยอมรับของพ่อแม่ที่มีบุตรข้ามเพศด้วยการบูรณาการ ปรึกษาครอบครัวโดยมีทฤษฎีเป็นฐาน. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(1), 385-396.
ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2553). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย: วัยรุ่น-วัยสูงอายุ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สะอาด ศรีวรรณ. (2560). ความเข้มแข็งทางสังคมบนฐานสถาบันครอบครัว. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 4(2), 93-111.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2557). เพศที่สามครองพิธีกร เน้นประพฤติดีเป็นตัวอย่าง. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2568, จาก www.thaihealth.or.th/เพศที่สามครองพิธีกร-เน้น/
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2560). เสียงสะท้อนเยาวชน ถึงสถานการณ์ครอบครัวไทย 4.0. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2568, จาก www.thaihealth.or.th/Content/36159
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2564). เปิดจุดเปลี่ยนการยอมรับ LGBTQ. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2568, จาก https://resourcecenter.thaihealth.or.th/content/1062-content-%20LGBTQ
สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน). (2559). NEW GEN IS NOW คนรุ่นใหม่คือพลังแห่งอนาคต. กรุงเทพฯ: โคคูน แอนด์ โค.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). LGBTQ+ : หลากหลายที่ไม่แตกต่าง เพื่อเปิดกว้าง สู่ความเสมอภาคทางเพศ. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2568, จาก https://www.nesdc.go.th/download/Social/Social_Report/2566_article_q2_003.pdf
สำนักส่งเสริมสุขภาพ. (2566). ปัจจัยกำหนดสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพที่ส่งผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน. รายงานการศึกษาสถานการณ์. นนทบุรี: กระทรวงสาธสารณสุข, กรมอนามัย, สำนักส่งเสริมสุขภาพ.
D’Amico E, Julien D. (2012). Disclosure of sexual orientation and gay, lesbian, and bisexual youth’s adjustment: Associations with past and current parental acceptance and rejection. GLBT Family Studies, 8: 215-242.
NovaBizz. (2560). การปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเป็นการศึกษาพฤติกรรมของบุคคล. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2568, จาก https://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Social-Interaction.htm
PIERspectives. (2564). โอกาสกับความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2568, จาก https://www.pier.or.th/pierspectives/001/
The Standard. (2020). LINE เปิดผลสำรวจ Y Economy พบ 78% คนดูซีรีส์วายเป็นผู้หญิง กำลังซื้อสูง พร้อมอุดหนุนสินค้าที่ศิลปินเป็นพรีเซนเตอร์. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2568, จาก สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2568 จาก https://thestandard.co/line-found-people-78-watching-y-series-are-high-purchasing-power-women/
UNODC และ UN Women. (2021). การตระหนักถึงเพศสภาพของเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการและกลุ่มผู้บังคับใช้กฎหมาย. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2568, จาก https://asiapacific.unwomen.org/sites/default/files/2022-05/Gender-Module-1_THAI_2-11-21.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2025 ณัฐนิดา จบศรี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.