โพธิวังสะ: การสำรวจเอกสารต้นฉบับตัวเขียนในหอสมุดแห่งชาติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและตรวจสอบต้นฉบับตัวเขียนเรื่องโพธิวังสะที่จัดเก็บรักษาและให้บริการ ณ สำนักหอสมุดแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร โดยการสำรวจต้นฉบับตัวเขียนเรื่องนี้พบว่า ในสำนักหอสมุดแห่งชาติ มีต้นฉบับตัวเขียนทั้งหมด 9 ฉบับและมีการจัดเก็บรักษาไว้ 2 แห่ง คือ หอพระมณเฑียรธรรม ในพระบรมมหาราชวัง และกลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก
จากการตรวจสอบต้นฉบับตัวเขียนในเบื้องต้นพบว่า ต้นฉบับตัวเขียนทั้งหมดสามารถจำแนกได้เป็น 4 ประเด็น มีดังนี้ 1) ต้นฉบับตัวเขียนที่เป็นฉบับหลวงและฉบับราษฎร์ 2) ต้นฉบับตัวเขียนจารชื่อเรื่องแตกต่างจากต้นฉบับตัวเขียนของลังกา3) ต้นฉบับตัวเขียนพบสูงสุดเพียง 3 ผูก และ 4) ต้นฉบับตัวเขียนมีเนื้อหาไม่สมบูรณ์ เมื่อเปรียบเทียบกับฉบับตรวจชำระของสมาคมบาลีปกรณ์
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรมศิลปากร. (2506). ศาสนวงศ์หรือประวัติศาสนา. พระนคร: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โสม ฉนฺโน) ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส 23 มีนาคม พ.ศ. 2506).
กรมศิลปากร. (2546). คัมภีร์ใบลานฉบับหลวงในสมัยรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
กรมศิลปากร. (2555). ไตรภูมิกถา พระราชนิพนธ์ ญาลิไทย ฉบับถ่ายถอดตามตัวอักษรขอมไทยของพระมหาช่วย วัดปากน้ำจารไว้ เมื่อพุทธศักราช 2321 (สมัยธนบุรี). กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโพรดักส์.
กรรมการหอพระสมุดฯ. (2459). บาญชีเรื่องหนังสือในหอพระสมุดวชิรญาณ ภาคที่ 1 แพนกบาฬี พ.ศ. 2459. พระนคร: โรงพิมพ์ไทย.
กรรมการหอพระสมุดฯ. (2464). บาญชีคัมภีร์ภาษาบาลีแลภาษาสันสกฤตอันมีฉบับในหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนคร เมื่อปีวอก พ.ศ. 2463. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธากร.
พระนันทปัญญาจารย์. (2546). จูฬคันถวงศ์ ประวัติย่อคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา. สิริ เพ็ชรไชย,ผู้แปล. กรุงเทพฯ: ธนาเพลส แอนด์ กราฟฟิค.
พสิษฐ์ วรรณทอง. (2565). “การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมบาลีเรื่อง ‘มหาโพธิวํส’.”วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
โพธิวํส. (ม.ป.ป.). หนังสือใบลาน 3 ผูก อักษรขอม ภาษาบาลีเส้นจาร ฉบับล่องชาด เลขที่ 11491/ค/1 ต.132 ช.1/4 7496/ข/. กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก สำนักหอสมุดแห่งชาติ.
โพธิวํส. (ม.ป.ป.). หนังสือใบลาน 3 ผูก. อักษรขอม. ภาษาบาลี. เส้นจาร. ฉบับรดน้ำแดง ร.2. เลขที่ 2338/ข/1-3 ต.10 ช.4/2. กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก สำนักหอสมุดแห่งชาติ.
โพธิวํส. (ม.ป.ป.). หนังสือใบลาน 3 ผูก. อักษรขอม. ภาษาบาลี. เส้นจาร. ฉบับรดน้ำดำเอก ร.3. เลขที่ 2596/ข/1-3: 1ก-3ก ต.11 ช.4/1. กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก สำนักหอสมุดแห่งชาติ.
โพธิวํส. (ม.ป.ป.). หนังสือใบลาน 3 ผูก. อักษรขอม. ภาษาบาลี. เส้นจาร. ฉบับทองน้อย ร.3. เลขที่ 10927/ค/1-3 ต.98 ช.1/2. กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก สำนักหอสมุดแห่งชาติ.
โพธิวํส. (ม.ป.ป.). หนังสือใบลาน 3 ผูก. อักษรขอม. ภาษาบาลี. เส้นจาร. ฉบับล่องชาด. เลขที่ 7312/ข/ 1-3 ต.90 ช.3/3น. กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก สำนักหอสมุดแห่งชาติ.
โพธิวํส. (ม.ป.ป.). หนังสือใบลาน 3 ผูก. อักษรขอม. ภาษาบาลี. เส้นจาร. ฉบับล่องชาด. เลขที่ 7496/ก/ 1-3 ต.90 ช.4/3ต 7496/ข/. กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก สำนักหอสมุดแห่งชาติ.
ศานติ ภักดีคำ. (2560). ตำราไตรปิฎก. กรุงเทพฯ: Fragile Palm Leaves Foundation.
ศานติ ภักดีคำ. (2564). บัญชีคัมภีร์พระไตรปิฎกในจิตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถวัดทองนพคุณ. กรุงเทพฯ: Fragile Palm Leaves Foundation.
สกีลลิ่ง ปีเตอร์ และ ศานติ ภักดีคำ. (2545). สยามบาลีวรรณกรรม. กรุงเทพฯ: Fragile Palm Leaves Foundation.
สวาท เหล่าอุด. (2549). ชื่อเรื่องและชื่อแบบฉบับหนังสือตัวเขียนทางพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: สำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร.
สำนักหอสมุดแห่งชาติ. (2552). คู่มือสำรวจ จัดหา รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ เอกสารโบราณ ประเภทคัมภีร์ใบลานและหนังสือสมุดไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
Arizona State University Liberties. (n.d.). Dharmapradipika or Mahabodhivamsa Pari (Commentary for Mahabodhivamsa (History of the Bodhi Tree). Accessed July 24, 2024, Available from https://prism.lib.asu.edu/items/66760.
Bode, M. H. (1909). The Pali Literature of Burma. London: The Royal Asiatic Society.
Matsumura, J. (2006). “The Sumedhakatha in the Mahabodhivamsa: An Introductory Study of the Pali Chronicle Literature in Medieval Sri Lanka.” Journal of Indian and Buddhist Studies (Indogaku Bukkyogaku Kenkyu) 55,1: 342-336. in Strong, A. (1891). The Mahā-bodhi-vaṃsa. London: Pāli Text Society.
Nyunt, Peter and Cicuzza, Claudio. (2015). A Descriptive Catalogue of Burmese Manuscripts in the Fragile Palm Leaves Collection Volume 2. Bangkok: Fragile Palm Leaves Foundation.
Strong, A. (1891). The Mahā-bodhi-vaṃsa. London: Pāli Text Society.
Yohei, S. (2012). “A Japanese Translation of Chapter 12 ‘Legend of the King of Trees′ Arrival in Sri Lanka’ of the Mahābodhivaṃsa.” Buddhist Studies 40, 40: 265-289.