ความเป็นปักษ์ใต้ที่ปรากฏในหนังสือที่ระลึกงานวันสารทเดือนสิบ ในปี 2508-2542

Main Article Content

อิทธิกร ทองแกมแก้ว

บทคัดย่อ

งานศึกษานี้มุ่งศึกษากิจกรรมและหนังสือที่ระลึกวันสารทเดือนสิบ ณ วัดพิชัยญาติการาม กรุงเทพมหานคร ของกลุ่มสหภูมิภาคทักษิณ ตั้งแต่ปี 2508–2542 โดยค้นพบการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ 2 ส่วนคือ ในส่วนแรก ภายใต้ทศวรรษ 2500 ผู้คนจากทางภาคใต้หลั่งไหลเข้ามาสู่กรุงเทพฯ ได้เกิดการรวมกลุ่มเพื่อสร้างเครือข่ายและการช่วยเหลือซึ่งกันและกันของคนใต้ ผ่านการจัดงานประเพณีวันสารทเดือนสิบในกรุงเทพฯ เมื่อมีการจัดงานและตีพิมพ์หนังสือที่ระลึกงานวันสารทเดือนสิบขึ้น มีงานเขียนที่แสดงให้เห็นถึงความพยายามถึงการกระตุ้นสร้างสำนึกความเป็นคนใต้ที่สัมพันธ์อยู่กับวัฒนธรรมความเป็นชาติ ภายใต้บริบทในยุคสงครามเย็น และในส่วนที่สอง งานชิ้นนี้ได้ชี้ให้เห็นถึงการพยายามนำเสนอวัฒนธรรมความเป็นคนใต้ออกสู่สายตาให้คนกรุงเทพฯ ได้รับรู้ผ่านเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และการมีสถาบันหลักของชาติอย่างสถาบันพระมหากษัตริย์ร่วมกัน

Article Details

How to Cite
ทองแกมแก้ว อ. (2024). ความเป็นปักษ์ใต้ที่ปรากฏในหนังสือที่ระลึกงานวันสารทเดือนสิบ ในปี 2508-2542. ภาษา-จารึก, 1(2), 203–228. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/PCJ/article/view/1157
บท
บทความวิชาการ

References

กรมศิลปากร. (2524). พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจในสมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบุรี. กรุงเทพฯ: กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นางสาวผัน ณ นคร (บ.ม.).

กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ ฉบับกรุงธนบุรี. (2516). ธนบุรี: สารศึกษาการพิมพ์.

คณะสงฆ์วัดพิชัยญาติการามจัดพิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศลงานออกเมรุพระราชทานเพลิงศพ พระวิสุทธิวงศาจารย์ (สุง ธญฺญาโภ). (2535). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

คณะสหภูมิสงขลาธรรมิกสงเคราะห์นครหลวงกรุงเทพธนบุรี. (2515). กลอนศัพท์ภาษาปักษ์ใต้ ตอน 2 โดย น.อุไรกุล. พระนคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด การพิมพ์พระนคร.

คริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2559). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: มติชน.

ชลิตา บัณฑุวงศ์. (2560). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ “ผมจะไปช่วยพี่น้องเรา รัฐบาลขี้ฉ้อทำร้ายประชาชน”: ความคิดและปฏิบัติการ “การเมืองคนดี” ของคนใต้ย้ายถิ่นในกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: สกว.

เนาวรัตน์ ชิโนภาษ. (2542). “วิถีชีวิตของผู้ย้ายถิ่นชาวใต้ในกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธ์หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

“ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ให้อำนาจจัดตั้ง "มูลนิธิสหภูมิภาคทักษิณ" เป็นนิติบุคคล.” (2522). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 96, ตอน 37 ง (20 มีนาคม): 1024-1205.

พรชัย นาคสีทอง. (2561). “อ่าน “งานประจำปี เดือนสิบ”: มองพื้นฐานความคิดและพื้นที่ปฏิบัติการของรัฐในชีวิตประจำวัน “คนนครฯ” ทศวรรษ 2460-2490.” ใน ภิรมย์รตี 72 ปี ครูพลับพลึง คงชนะ เนื่องในโอกาสฉลองอายุครบ 6 รอบ อายุครบ 72 ปี ผศ.ดร.พลับพลึง คงชนะ, 77-100. สุรศักดิ์ จำนงสาร และคณะ, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: สันติศิริการพิมพ์.

พรชัย นาคสีทอง. (2567). ชาติเมื่อวายชนม์ อุดมการณ์รัฐไทยในหนังสืออนุสรณ์. กรุงเทพฯ: มติชน.

“พวก”ของคนใต้กับ ปชป. (2558). เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน. เข้าถึงได้จาก https://prachatai.com/journal/2015/02/57951

แพทริค โจรี และจิรวัฒน์ แสงทอง. (2563). “รากเหง้าของลัทธิอนุรักษ์นิยมสุดโต่งในพุทธภูมิทางภาคใต้ของไทย.” ปริญญา นวลเปียน, ผู้แปล รูสมิแล 41, 3 (กันยายน-ธันวาคม): 22-46.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2558). กำเนิด “ประเทศไทย” ภายใต้เผด็จการ. กรุงเทพฯ: มติชน.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2563). ประวัติศาสตร์แห่งการเดินทางและภูมิศาสตร์การเมืองในรอบศตวรรษ. กรุงเทพฯ: สมมติ.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2567). ต่างจังหวัดในแดนไทย : การควบคุมพื้นที่ ความรู้ และความทรงจำนอกกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

ยงยุทธ ชูแว่น. (2562). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: ยิปซี กรุ๊ป.

สมาคมชาวปักษ์ใต้ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2542). งานสืบสานประเพณีทำบุญเดือนสิบ. กรุงเทพฯ: ที.พี.ปริ้นท์.

สหภูมิภาคทักษิณ. (2496). ทักษิณ 1, 1 วัสสานฤดู.

สหภูมิภาคทักษิณ. (2516). จารึกอโศก. ธนบุรี: ร.พ.ประยูรวงศ์.

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 5. (2512). ม.ป.ท.: บริษัท บพิธ จำกัด (แผนกการพิมพ์).

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 6. (2513). ม.ป.ท.: บริษัท บพิธ จำกัด (แผนกการพิมพ์).

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 7. (2514). ม.ป.ท.: บริษัท บพิธ จำกัด (แผนกการพิมพ์).

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 8. (2515). ธนบุรี: สารศึกษาการพิมพ์.

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 9. (2516). ม.ป.ท.

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 10. (2517). กรุงเทพฯ: มหาราษฎร์การพิมพ์.

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 12. (2519). ม.ป.ท.

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 14. (2521). กรุงเทพฯ: บำรุงนุกูลกิจ.

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 18. (2525). ม.ป.ท.

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 20. (2527). ม.ป.ท.

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 22. (2529). กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.

อนุสรณ์งานวันสารทสหภูมิภาคทักษิณ ปีที่ 28. (2535). กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อนุสรณ์วันเปิดชมรมสุริยะทักษิณ. (2514). ธนบุรี: สารศึกษาการพิมพ์.

อาคม เดชทองคำ. (2545-2546). “ตัวตนของคนใต้ : มุมมองผ่านงานวิจัยหัวเชือกวัวชน.” ปาริชาต 15, 2 (ตุลาคม 2545-มีนาคม 2546): 33-42.

อิจิโร คากิซากิ. (2549). จากทางรถไฟสู่ทางหลวง: ความเปลี่ยนแปลงนโยบายการคมนาคมและการหมุนเวียนสินค้าของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2478-2518. คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครโยโกฮามา.