THE DEVELOPMENT OF THE ABILITY IN LITERATURE CRITICAL TITLE THE INAO EPISODE ON THE WAR OF KAMANGKUNING OF STUDENTS MATHAYOMSUKA 4 AT NONGKIPITTAYAKOM SCHOOL THROUGH SIX THINKING HATS TECHNIQUE INTEGRATE TPACK

Authors

  • NANTANAT DISSADAM NONGKIPITTAYAKHOM SCHOOL
  • SIRIRAT SEEHANAM NONGHOIPANGBAMNETWITTHAYA SCHOOL

Keywords:

Literature Critical, The Inao Episode on the war of Kamangkuning, Six Thinking Hats, Technique TPACK

Abstract

          The purpose of this research was to study the ability in literature critical title the Inao episode on the war of kamangkuning of students mathayomsuka 4 at nongkipittayakom school. Compare academic achievement to the ability in literature critical pre-test and post-test. Post-test with the specified standard criteria 70% and to study satisfaction of students mathayomsuka 4 of the learning management formats through six thinking hats technique integrate TPACK. Samples in this study comprised 44 students by using Purposive sampling. The research tools included a plan of learning management, totaling 5 plans, Evaluation of literature critical and Satisfaction questionnaire. The result revealed that the students Academic achievement before study had a mean () of 7.61 percent or 38.07 and a standard deviation (S.D.) of 1.384 and after study had a mean () of 12.14 percent or 60.67 and a standard deviation (S.D.) of 1.563 progress between before studying and after studying has a mean () of 4.52 and comparing the achievement after studying, it was higher than before studying with statistical significance level of .05 but the achievement after studying is lower than the required 70 percent threshold and study satisfaction of students mathayomsuka 4 of the learning management format through six thinking hats technique integrate TPACK all 3 aspects were at a high level, with a mean () of 4.29 and a standard deviation (S.D.) of 0.588 considering aspect 1: the teaching method is at a high level, with a mean () of 4.35 and a standard deviation (S.D.) of 0.585, aspect 2: the content is at a high level. The mean () of 4.22, standard deviation (S.D.) of 0.637, aspect 3: the teaching media is at a high level. The mean () of 4.30. The standard deviation (S.D.) of 0.650.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2552. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

เจนจิรา ยลพล. (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบหมวกหกใบ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ชลธิชา เกิดปากแพรก. (2564). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา เรื่อง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบร่วมกับแผนผังความคิด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ชัยวัฒน์ แก้วพันงาม. (2561). แนวทางในการผสมผสานดิจิทัลเทคโนโลยีเพื่อการสอนภาษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ทิศนา แขมมณี. (2540). การคิดและการสอน:ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ปราณี กองจินดา. (2549). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และทักษะการคิดเลขในใจของนักเรียนที่ได้รับการสอนตามรูปแบบซิปปาโดยใช้แบบฝึกหัดที่เน้นทักษะการคิดเลขในใจกับนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้คู่มือครู. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

วิชัย รัตนศิริ. (2562). การพัฒนาความสามารถทางการเขียนวิเคราะห์วิจารณ์วรรณกรรมโดยใช้ชุดคําถามตามเทคนิคหมวก 6 ใบ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยทักษิณ.

วิภาวัณย์ สาระทรัพย์. (2559). การศึกษาความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนร้แบบ SQ4R ร่วมกับเทคนิควิธีการคิดแบบหมวก 6 ใบ.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.

สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา. (2548). สรุปรายงานโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ เล่มที่ 14/2548. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา.

หทัย น้อยสมบัติ, สุพรรณิการ์ ชนะนิล และปฐมพงศ์ ชนะนิล. (2563). การพัฒนาสมรรถนะทางคณิตศาสตร์ และการรู้เรื่องคณิตศาสตร์โดยใช้ รูปแบบ TPACK Model สำหรับนักศึกษาครู 4.0. (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.

อรชา อุตทาสา และคณะ. (2561). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย โดยใช้เทคนิคหมวกความคิด 6 ใบ ของ Edward de Bono สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตากสินราชานุสรณ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร.

Edward de Bono. (2000). Six Thinking Hats. 3rd ed. London: Penguin Books.

Downloads

Published

2024-06-07