พระพุทธศาสนากับนวัตกรรม

ผู้แต่ง

  • มานิตย์ อรรคชาติ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

คำสำคัญ:

พระพุทธศาสนา, นวัตกรรม

บทคัดย่อ

บทความเรื่องพระพุทธศาสนากับนวัตกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความหมายของนวัตกรรม   2) เพื่อศึกษานวัตกรรมกับการศึกษา และ 3) เพื่อวิเคราะห์องค์ความรู้ที่มีอยู่ในนวัตกรรมทางพระพุทธศาสนา   จากการศึกษาพบว่า นวัตกรรม หมายถึง ทำใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ส่วนนวัตกรรมกับการศึกษานั้น สรุปได้ 4 ประการ คือ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความพร้อม การใช้เวลาเพื่อการศึกษา ประสิทธิภาพในการเรียน ส่วนองค์ความรู้ที่มีอยู่ในนวัตกรรมทางพระพุทธศาสนา คือเน้นหลักพุทธวิธีการสอน 4 ส คือ สันทัสสนา สมาทปนา สมุตเตชนา สัมปหังสนา

References

จรูญ วงศสายัณห. (2520). นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช.

ไชยยศ เ รืองสุวรรณ. (2521). หลักการทฤษฎีและนวกรรมของการศึกษา. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ.

นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. (2562) [ออนไลน]. แหลงที่มา : http://eduandtechno.blogspot .com/ [12 มิถุนายน 2562].

บุญเ กื้อ ควรหาเวช. (2543 ). นวัตกรรมการศึกษา. นนทบุรี: SR Printing.

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2541). พุทธวิธีในการสอน. กรุงเทพฯ : บริษัทสหธรรมิก.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่มที่ 11. กรุงเทพฯ:มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

__________. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่มที่ 30. กรุงเทพฯ:มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.ราชกิจจานุเบกษา.

(2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 4. [ออนไลน]. แหล่งที่มา : www.ratchakitcha.soc.go.th [30 เมษายน 2563].

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-30