การบริหารการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนในยุคดิสรัปชัน

ผู้แต่ง

  • วชิรวัชร งามละม่อม หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

คำสำคัญ:

การบริหารการพัฒนา, ท้องถิ่น, ท้องถิ่นยั่งยืน, ดิสรัปชัน

บทคัดย่อ

ข้อค้นพบจากการวิเคราะห์แนวคิดทฤษฎีและงานวิชาการ พบว่า การบริหารการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนในยุคดิสรัปชันจำเป็นต้องผสมผสานแนวคิดหลายสาขาวิชาเพื่อสร้างกรอบการบริหารจัดการที่มีความยืดหยุ่นและสามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนในระยะยาว การสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในระดับต่างๆ ที่เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน การประยุกต์ใช้ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาที่ถือเป็นกุญแจสำคัญในการเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิสรัปชัน
และนำไปสู่การช่วยเสริมสร้างคุณค่าของการนำไปใช้ประโยชน์ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและการบริการที่ดีขึ้น นับเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างสังคมที่ยั่งยืนและมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต ข้อเสนอแนะจากข้อค้นพบ ควรคำนึงถึงการศึกษาวิเคราะห์ที่ถูกต้องและรอบด้าน เพื่อเข้าใจถึงความต้องการและโอกาสของท้องถิ่นผ่านเครื่องมือที่ทันสมัย เช่น การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) และการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analytics) นอกจากนี้ยังควรมีนโยบายที่สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน และสร้างศักยภาพในการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชนที่ต่างกัน

References

จันทิมา ศรีสวัสดิ์. (2566). การศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในยุคดิสรัปชัน. วารสารการศึกษาเพื่อการพัฒนา, 17(2) : 89-102.

พิภพ สุนทรสถิตย์. (2563). การพัฒนาอย่างยั่งยืนในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมชาย มณีศรี. (2565). ความท้าทายของการพัฒนาท้องถิ่นในยุคดิสรัปชัน. วารสารรัฐศาสตร์และการปกครอง, 28(1) : 45-63.

สุภัทรศักดิ์ คำสามารถ ศิรินทิพย์กุลจิตรตรี และโกวิท จันทะปาละ. (2563). แนวทางการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลดิสรัปชัน. Journal of Modern Learning Development, 5(3) : 245-259.

อริญญา เถลิงศรี. (2567). 5 ความท้าทาย 5 วิธีรับมือ “เอสเอ็มอี” ต้องรู้ในยุคธุรกิจทำลายล้าง. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2567, จาก http://www.bizpromptinfo.com

อัจฉรา ทองประเสริฐ. (2564). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น. วารสารการบริหารการพัฒนา, 39(2) : 123-140.

Al-Debei, M. M., Al-Lozi, E., & Papazafeiropoulou, A. (2013). Why people keep coming back to Facebook: Explaining and predicting continuance participation from an extended theory of planned behaviour perspective. Decision Support Systems, 55(1) : 43-54.

Arnstein, S. R. (1969). A Ladder of Citizen Participation. Journal of the American Institute of Planners, 35(4) : 216-224.

Berman, E. M., & Wang, X. (2021). Citizen Participation and Local Governance in the Digital Era. Public Administration Review, 81(4) : 657-670.

Boschma, R., & Martin, R. (2010). The Handbook of Evolutionary Economic Geography. Cheltenham: Edward Elgar Publishing.

Brown, P., & Lauder, H. (2023). Education, Globalization, and the Future of Work. Oxford, England: Oxford University Press.

Chaskin, R. J. (2001). Building Community Capacity. New York: Aldine de Gruyter

Christensen, C. M. (1997). The Innovator's Dilemma: When New Technologies Cause Great Firms to Fail. Boston, Massachusetts: Harvard Business Review Press.

Elkington, J. (1997). Cannibals with Forks: The Triple Bottom Line of 21st Century Business. England: Capstone Publishing.

Friedmann, J. (1992). Empowerment: The Politics of Alternative Development. New York: Blackwell.

Kaplan, R. S., & Mikes, A. (2012). Managing Risks: A New Framework. Cambridge: Harvard Business Review.

Kettl, D. F. (2022). The Transformation of Governance: Public Administration for the Digital Age. New York: Johns Hopkins University Press.

Kotter, J. P. (1996). Leading Change. Cambridge: Harvard Business School Press

Mintzberg, H. (1994). The Rise and Fall of Strategic Planning. New York: Free Press.

Mulgan, G., Tucker, S., Ali, R., & Sanders, B. (2007). Social Innovation: What It Is, Why It Matters, and How It Can Be Accelerated. London: The Young Foundation.

OECD. (2020). The OECD Digital Economy Outlook 2020. Paris, France: OECD Publishing.

Rothidsathan, P. (2016). Sustainable Local Development in the Era of Digital Disruption. Journal of Sustainable Development, 8(2) : 45-56.

Rothidsathan. (2024). Policy of Higher Education. Retrieved on 22 June 2024, http://www.moe.go.th/

websm/2024/sep/385.ht2.jpg

Siripala, L. (2020). Harnessing Technology for Sustainable Local Development: Case Studies from Southeast Asia. International Journal of Rural Development, 12(3) : 78-91.

Smith, A. (2020). Sustainable Local Development in the Age of Digital Disruption. Journal of Urban Planning, 45(3) : 234-251.

Westerman, G., Bonnet, D., & McAfee, A. (2014). Leading Digital: Turning Technology into Business Transformation. Cambridge: Harvard Business Review Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-04-24