ความสามารถในการจัดการตนเองเด็กปฐมวัย

Main Article Content

ปิยนุช รัตนพงษ์
ประกอบ ใจมั่น

บทคัดย่อ

ความสามารถในการจัดการตนเองของเด็กปฐมวัยถือ คือ ทักษะแห่งอนาคตที่เด็กควรได้รับการส่งเนื่องจากเด็กปฐมวัยถือเป็นช่วงเวลาอันสำคัญสำหรับการวางรากฐานทางการศึกษาอันจะเป็นประโยชน์ ในอนาคต โดยเด็กสามารถตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่นของเด็ก สามารถวางแผนและ การจัดระบบในการทำกิจกรรม และการแก้ปัญหาความขัดแย้งขณะทำกิจกรรมอย่างสร้างสรรค์ ผ่านการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ที่ยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยการผสมผสานหลักการของการพัฒนาทักษะสมองหรือ EF (Executive Function) และการพัฒนาทักษะชีวิตที่มุ่งเน้นการการจัดประสบการณ์ผ่านการเล่น และลงมือปฏิบัติจริง โดยสามารถกำกับ และควบคุมพฤติกรรมของตนเองในการทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นในชีวิตประจำวัน เมื่อพบเจอสถานการณ์ที่เป็นปัญหา หรืออุปสรรคในการทำกิจกรรมสามารถคิด วางแผน และตัดสินใจแก้ไขปัญหาได้อย่างมีเหตุผล ทั้งนี้ ความสามารถในการจัดการตนเองของเด็กปฐมวัยสามารถพัฒนาได้ ผ่านการบริหารจัดการตนเองให้รู้จักสังเกต คิด ตัดสินใจ ลงมือทำ และแก้ปัญหาด้วยตนเองด้วยตนเองตามความแตกต่างระหว่างบุคคล และสถานการณ์ที่พบเจอในชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ทำให้เกิดในการพัฒนาความสามารถในการจัดการตนเองของเด็กปฐมวัยซึ่งเป็นทักษะแห่งอนาคต

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). คู่มือการคัดเลือกครูต้นแบบทักษะชีวิต. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

กรรณิการ์ แสนสุภา, และนเรศ กันธะวงศ์. (2564). การจัดการตนเอง: ทักษะในการพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืน. วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มทร. พระนคร, 1(1), 25-37.

จารุทัศน์ วงศ์ข้าหลวง.การศึกษาผลงานศิลปะของเด็กอายุ 5-6 ปีที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวการศึกษาวอลดอร์ฟและเรกจิโอเอมิเลีย. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (ศิลปศึกษา). กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,2551.

ชดช้อย วัฒนะ. (2558). การสนับสนุนการจัดการตนเอง: กลยุทธ์ในการส่งเสริมการควบคุมโรค. วารสาร วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, 26(1), 117 – 127.

ธันยพร จารุไพศาล. (2564). การบริหารจัดการตนเอง (Self-management) คืออะไร และเทคนิคในการพัฒนา. สืบค้นจาก https://www.entraining.net/library.php

นันทิยา ตันศรีเจริญ.(2564) ครูผู้มองเห็นสภาวะการเรียนรู้ของเด็ก (Visible Learning). (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : บริษัท แปลน พับลิชชิ่ง จำกัด

วิจารณ์ พานิช. (2556). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสยามกัมมาจล

วรรธนา นันตาเขียน. (2563). การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย. สืบค้นจาก

http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1279/1/gs591150011.pdf

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยอายุ 3-5 ปี ตามสมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย. กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด

สำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา. (2564). ทักษะที่จำเป็นแห่งอนาคต (Future Skill เพื่อเตรียมการพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัยรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Disruption) ของโลกศตวรรษที่ 21 : ผลการศึกษาและแนวทางการส่งเสริม. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : บริษัท เพชรเกษมพริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด

อลิสา เลี้ยงรื่นรมย์. (2564). 14 วิธีการสอนเชิงรุก ผู้เรียนสนุก ผู้สอนสบาย. สงขลา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่

องค์การแพลน อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย). (ม.ป.ป). เอกสารคู่มือทักษะชีวิต กิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต. มูลนิธิ ไร้ท์ ทู เพลย์ ประเทศไทย

Bandura, A. (1997). Self-Efficacy: The Exercise of Control. New York: W.H. Freeman & Company.

Bakhshi, H., Downing, J., Osborne, M. & Schneider, P. 2017. The Future of Skills: Employment in 2030. London: Pearson and Nesta.

Bonwell, C.C.; & Eison.J. A. (1991). Active Learning: Creative Excitement in the Classroom. ASHE-ERIC Higher Education Reports No. 1. Washington, D.C.

Creer, T. L. (2000). Self-management. In M. Bockaeets, R. Pintrich & M. Zeidner (Eds.), Handbook of Self regulation. San diego, California: Academic Press.

Curtin, R. B., Walters, B. A. J., Schatell, D., Pennell, P., Wise, M., & Klicko, K. (2008). Self-Efficacy and Self-Management Behaviors in Patients With Chronic Kidney Disease. A journal of the National Kidney Foundation, 15(2), 191-205.

Riegel, B., Carlson, B., & Glaser, D. (2000). Development and testing of a clinical tool measuring self-management of heart failure. Heart and Lung, 29(1), 4-15.