การพัฒนาระบบการติดตามการดำเนินโครงการด้วยจินตทัศน์ข้อมูลเพื่อสนับสนุน การตัดสินใจในการบริหารจัดการองค์กร
คำสำคัญ:
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ, จินตทัศน์ข้อมูล, การบริหารจัดการองค์กร, แดชบอร์ดบทคัดย่อ
บทความวิจัยเรื่องนี้ ได้ทำการศึกษาการพัฒนาระบบการติดตามการดำเนินโครงการด้วยจินตทัศน์ข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารจัดการองค์กร” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบการติดตามการดำเนินโครงการด้วยจินตทัศน์ข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารจัดการองค์กร 2) ประเมินประสิทธิภาพของระบบการติดตามการดำเนินโครงการด้วยจินตทัศน์ข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารจัดการองค์กร 3) ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบการติดตามการดำเนินโครงการด้วยจินตทัศน์ข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารจัดการองค์กร ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบการติดตามการดำเนินโครงการด้วยจินตทัศน์ข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารจัดการองค์กรที่พัฒนาขึ้นมีการแสดงรายงานภาพรวมของโครงการ งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ และงบประมาณที่คงเหลือเพื่อบริหารจัดการให้ดำเนินโครงการได้ทันตามระยะเวลาในแผนการดำเนินงานและใช้เงินงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบที่พัฒนาภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.40, S.D.=0.46) และ 3) การประเมินความพึงพอใจด้านการใช้งานภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.40, S.D.=0.46)
References
กนกวรรณ สีเนหะ วราปภา อารีราษฎร์ และกาญจนา ดงสงคราม. (2565). “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแดชบอร์ด เพื่อนําเสนอข้อมูลพื้นฐานตําบลห้วยเตย จังหวัดมหาสารคาม” วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. ปีที่ 8 (ฉบับที่ 1) :หน้า 3-4. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
กิตติยา พลอยวัฒนาวงศ์ ธนากรณ์ กันนิกา และดวงหทัย แพงจิกรี.(2563). [ออนไลน์]. การรายงานแผนปฏิบัติการด้วยDashboard ระยะที่ 1 PLAN REPORT CREATED ON DASHBOARD PHASE 1.[สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566].เข้าถึงได้จาก https://incbaa.kku.ac.th/img/files/articles/e3803-40.e12-129.pdf.
ชุติมณฑน์ รักนะ. (2559). [ออนไลน์]. จินตทัศน์ศึกษาสำหรับระบบจัดการจราจร iTraffic. [สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2566]. เข้าถึงได้จากhttps://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/ 11622/1/419506.pdf.
ทัศนันท์ ชูโตศรี. (2564). “การนำเสนอข้อมูลเชิงภาพด้วยจินตทัศน์ข้อมูล.” วารสารวิทยาสารสนเทศและเทคโนโลยี. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1: 1-15.
บุญชม ศรีสะอาด (2556) วิธีการเขียนทางสถิติสำหรับการวิจัย. เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่5).
มธุริน ปิ่นทอง และจารุวรรณ พลอยดวงรัตน์. (2564). “แดชบอร์ด เพื่อการจัดการฐานข้อมูลนักเรียนDashboard for Student database management.” วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย. ที่ ปี12 ฉบับที่ 4 หน้าที่5-6.
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์. (2564). [ออนไลน์]. แบบประเมินความพึงพอใจ NSRU Dashboard . [สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก
https://e-form.nsru.ac.th/q=286.
รัตนา สุวรรณวิชนีย์ และปราลี มณีรัตน์ .(2560). [ออนไลน์]. การพัฒนาระบบรายงานรุปแบบหลายมิติเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. [สืบค้นเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2566]. เข้าถึงได้จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/ spurst/article/view/122113.
วรวิกา วัฒนสุนทร ชุติมณฑน์ รักนะ. (2560). [ออนไลน์]. การออกแบบจินตทัศน์และการพัฒนาระบบจำลองสำหรับควบคุมสัญญาณไฟจราจร. [สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2566]. เข้าถึงได้จากhttps://apheit.bu.ac.th/jounal/science-july-2560/9_13_visualization% 20design_formatted.pdf.
ศิรประภา ยอดโพธิ์ และสุพรรณี สวนอินทร์. (2564). [ออนไลน์]. การศึกษาแนวทางการออกแบบแดชบอร์ดเพื่อใช้ในการปิดสถานะกิจกรรมที่ตกค้างบนระบบปฏิบัติการ. [สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก https://buulog.com/wp-content/uploads/2021/08/ศิรประภา -ยอดโพธิ์.pdf.
อภิยศ เหรียญวิพัฒน์.(2563). [ออนไลน์]. การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้าง Dashboard แสดงสถิติการใช้บริการกึ่งเรียลไทม์ของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ .2566]. เข้าถึงได้จากhttp://pulinet2020.tsu.ac.th/ Documentation/Proceeding/Oral/IT/09.pdf.