มนุษย์กับการใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • เอกลักษณ์ เขตจัตุรัส -

คำสำคัญ:

มนุษย์, การใช้ชีวิต, ยุคดิจิทัล

บทคัดย่อ

มนุษย์กับการใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล เป็นการศึกษาหาความหมายเกี่ยวกับการใช้ชีวิตของมนุษย์
ในยุคดิจิทัล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามนุษย์กับการใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล ซึ่งในปัจจุบันโลกได้มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ล้ำสมัย และมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันในแต่ละวัน รวมถึงทั้งภาคธุรกิจ การให้บริการ การรับบริการ ทั้งภาครัฐและเอกชน จึงต้องมีการศึกษาใช้ดิจิทัลให้เข้ากับยุคสมัยเพื่อที่จะรู้เท่าทันความเป็นไปของโลกในยุคดิจิทัล และปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยใหม่ของโลกที่เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาทำให้มนุษย์เกิดการพัฒนาแบบก้าวกระโดด

References

ถาปกรณ์ กำเนิดศิริ. (2564). การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก. สืบค้นเมื่อ 05/03/2567. เข้าถึงได้จาก https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34939.

ประกายรุ้ง. (2555). ชวนคิดชวนทำ : 12 เทคนิคใช้ชีวิต อย่างเป็นสุขและสำเร็จ. สืบค้นเมื่อ 06/03/2567. เข้าถึงได้จาก https://mgronline.com/dhamma/detail/9550000082287.

พระครูสุธรรมกิจโศล. (2561). มนุษย์ตามแนวสังคมศาสตร์.วารสารมหาจุฬาคชสาร, ปีที่ 9 ฉบับ ที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม. หน้า 114.

พระสมพงษ์ สุวโจ ไชยณรงค์. (2561). การประยุกต์ใช้หลักไตรสิกขาในการดำเนินใช้วิติในสังคมยุคดิจิทัล. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน หน้า 21.

พระโพธิพงศ์ ฐิตโสภโณ (โพธิรุกธ์). (2564). การประยุกต์ใช้พุทธปฏิภาณในการดำเนินชีวิต. วารสาร ปรัชญา และศาสนา, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม. หน้า 81.

มูลนิธิยุวพัฒน์. (2020). อิคิไก ความหมายของการมีชีวิตอยู่. สืบค้นเมื่อ02/03/2567. เข้าถึงได้จากhttps://www.yuvabadhanafoundation.org/th/.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554) พจนากรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. สืบค้นเมื่อ 26/02/2567. จาก https://dictionary.orst.go.th/.

รัตนา วงษ์พุฒ. (2566). การใช้ชีวิตอย่างมีความสุข. สืบค้นเมื่อ 06/03/2567. เข้าถึงได้ จาก http://www.acn.ac.th/articles/mod/forum/discuss.php?d=503.

รุ่งรัตน์ พลชัย. (2563). ภาวะผู้นำกับการบริหารในยุคดิจิทัล. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน, ปีที่ 1 ฉบีบที่ 3 กันยายน - ธันวาคม. หน้า 56.

วศิน อินทสระ. (2548). พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ. ทองกวาว.

วิชิต ธรรมฤทธิ์. (ม.ป.ป.). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 10/03/2567. เข้าถึงได้จาก http://www.missystem.net/misnkvc/manage/docdata/99vg7w359zvk98xgn28hgxvt.pdf.

สาลีวรรณ จุติโชติ และ ทิพมาศ เศวตวรโชติ. (2564). การดำเนินชีวิตอย่างไรให้มีความในยุคดิจิทัล. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ, ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564, หน้า 87.

เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2559). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 10/03/2567. เข้าถึงได้จาก https://www.trueplookpanya.com/dhamma/content/52232.

เสาวลักษณ์ สุทธิพรโอภาส และ พระสุทธิสารเมธี. (2564). พัฒนาการของมนุษย์ในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท. วารสารปรัชญาปริทรรศน์, ปีที่ 26 ฉบับที่ 1 มรกราคม – มิถุนายน. หน้า 23.

โชติชวัล ฟูกิจกาญจน์. (2556). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: รูปแบบ วิธีการ และแนวทางการนำไปปฏิบัติ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน. หน้า 112.

Ericpaints. (ม.ป.ป.). Digital Era หรือ ชีวิตดิจิทัล คืออะไร. สืบค้นเมื่อ 10/03/2567. เข้าถึงได้จาก https://ericpaints.com/technology/79/.

Subbrain. (2019). Important of Digital Era. สืบค้นเมื่อ 10/03/2567. เข้าถึงได้จาก https://www.sub-brain.com/marketing/important-people-in-digital-era/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-05-02