การจัดการศึกษาทางพระพุทธศาสนาเพื่อเสริมสร้างสันติภาพ
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดการศึกษาทางพระพุทธศาสนาเพื่อเสริมสร้างสันติภาพเพื่อที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของผู้สอนโดยมีการมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุลทั้งด้านปัญญา จิตใจ สังคม และค่านิยม จึงนำหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าและมีผู้ปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้าและจัดตั้งเป็นสถาบันองค์กรและรับผิดชอบการดูแลการเรียนรู้การปฏิบัติเพื่อเป็นประโยชน์สุขของมนุษย์
References
กรกนก รุจินาม. (2562). การสร้างสันติภาพของครูสมาธิ. วารสาร มจรปรัชญาปริทรรศน์, ปีที่ 2 (ฉบับที่ 2),
หน้า 66.
กระทรวงวัฒนธรรม. (2557). พระพุทธศาสนา. สืบค้น 25 กุมภาพันธ์ 2567,
จาก https://www2.m-culture.go.th/mculture_th60/download/Buddhism.pdf .
การศึกษาสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2549). กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ:
กระทรวงศึกษาธิการ.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2542). “การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้.” ปฏิวัติการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ :
โครงการวิถีทรรศน์.
ธรรมะไทย. (2560). ลักษณะเด่นของพุทธศาสนา. สืบค้น 29 กุมภาพันธ์ 2567,
จาก http://www.dhammathai.org/buddhism/buddhismhistory.php.
บงกช บุญมูล. (2546). คำศัพท์ที่เกี่ยวกับพุทธศาสนา.สืบค้น 25 กุมภาพันธ์ 2567,
จาก https://www.nectec.or.th/ .
ปรัชญา เวสารัชช์. (2550). ชุดฝึกอบรมผู้บริหาร: ประมวลสาระ. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.
ปรัชญา เวสารัชช์. (2554). หลักการจัดการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.
ประสิทธิ์ พันธวงษ์ และสานิตย์ บุญชู. (2561). ดอกไม้สันติภาพสร้างสันติสุขในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ปีที่ 2 (ฉบับที่ 1), หน้า 24.
ผดุงชัย ภู่พัฒน์. (ออนไลน์, 2567). แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษา. สืบค้น 25 กุมภาพันธ์ 2567,
จาก www. techd.rmutp.ac.th.
พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมฺจิตโต). (2546). ทิศทางการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหากฤษณะ ตรุโณ. (2551). “พระพุทธศาสนากับการสร้างสันติภาพโลก”, (วิทยานิพนธ์
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต), บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (14 สิงหาคม พ.ศ. 2542). ราชกิจจานุเบกษา.
เล่ม 116 ตอนที่ 74 ก, หน้า 4 .
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2553). คู่มือการจัดระบบการเรียน
การสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: เทียนวัฒนา พริ้นท์ติ้ง.
รัชฎากร เอี่ยมอำไพ. (2561). เพื่อสันติภาพโลก : รัสเซีย-ยูเครน. วารสารสิรินธรปริทรรศน์, ปีที่ 23
(ฉบับที่ 1), หน้า 361.
วิชัย ตันศิริ. (2549). อุดมการณ์ทางการศึกษา: ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ :
สามลดา.
วิชัย ตันสิริ. (2549). อุดมการณ์ทางการศึกษา ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วันชัย ปานจันทร์. (2556). ศักยภาพและความพรอมในการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร, ปที่ 8 (ฉบับที่ 1), หน้า 80.
ศรีวรรณ มีคุณ. (2554). การจัดการศึกษาโดยครอบครัว. (ออนไลน์, 2567). สืบค้น 25 กุมภาพันธ์ 2567,
จาก http://www.thaileam.org/ .
อัฟดัล สะอิ. (2558). เส้นเสียงแห่ง สันติภาพ: หน้าที่ของเพลงในสถานการณ์ ความรุนแรงจังหวัด
ชายแดนภาคใต้. วารสารกึ่งวิชาการ, ปที่ 36 (ฉบับที่ 4), หน้า 7.
อภิญญา ดิสสะมาน. (2558). การศึกษาสันติภาพ: กรณีศึกษาหลักสูตรเสริมสร้างสังคมสันติสุข (สสสส.) .
วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 .
อำนวย ทองโปร่ง. (2560). การพัฒนาคนในระบบการจัดการศึกษาไทย. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร,
ปที่ 7 (ฉบับที่ 2), หน้า 1.