จริยธรรมกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภาครัฐยุคใหม่
คำสำคัญ:
จริยธรรม, การบริหาร, การบริหารทรัพยากรมนุษย์, รัฐบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจริยธรรมกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภาครัฐ
ยุคใหม่ เพราะโลกในยุคใหม่มีการเปลี่ยนแปลงมากมายทั้งด้านการบริหาร และด้านจริยธรรม ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ยุคใหม่ ทรัพยากรมนุษย์ก็ยังถือเป็นสิ่งที่สำคัญเป็นอย่างมากอย่างหนึ่งในองค์กร และการที่มีผู้บริหารที่มีคุณธรรมจริยธรรมธรรมถือเป็นแบบอย่างที่ดีเป็นอย่างมาก และยังมีความน่าเชื่อถือ สามารถนำความรู้เรื่องหลักคุณธรรม จริยธรรมมาบริหารจัดการภายในองค์กรให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด หลักจริยธรรมจึงถือเป็นปัจจัยที่สำคัญปัจจัยหนึ่งที่จะนำไปสู่ความสำเร็จในการดำเนินงานภายในองค์กร
References
กมล อดุลพันธุ์. (2542). การบริหารรัฐกิจเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). ม.ป.ท.: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
รามคำแหง.
กรรณิการ์ สุวรรณศรี. (2567). ความเข้าใจเบื้อต้นเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์. สืบค้นเมื่อ 13
กุมภาพันธ์ 2567. เข้าถึงได้จาก : https://shorturl.asia/7lRaf
กิตติภูมิ มีประดิษฐ์. (2549). จริยธรรมทางธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2567. เข้าถึงได้จาก :
เกียรติ บุญยโพ. (2562). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในยุคใหม่. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 21(1), 168.
จักรี ศรีจารุเมธีญาณ. (2563). ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 1). ขอนแก่น :
โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2555). การบริหารองค์กรและบุคลากรทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพ:
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิมยาลัย.
ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี. (2566). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ หลักการ แนวคิดและการประยุกต์.
(พิมพ์ครั้งที่ 1). มหาสารคาม: ห้างหุ้นส่วนจำกัด อภิชาติการพิมพ์.
ณัฐกานต์. (2567). ความรู้พื้นฐานต่าง ๆ ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่จำเป็น. สืบค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์
เข้าถึงได้จาก: https://shorturl.asia/dythp.
ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2561). หลักการบริหารจัดการชั้นเรียน. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพ: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิมยาลัย.
ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2557). คุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมจากมุมมองของปรัชญา. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
ทิพาภรณ์ ธารีเกษ. (2551). ว่าด้วยรัฐ และ รัฐ-. สืบค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2567.เข้าถึงได้จาก :
ธนพัฒน์ จงมีสุขและรชต อุบลเลิศ. (2567). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐและนิติรัฐ. สืบค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์
เข้าถึงได้จาก: https://shorturl.asia/lEZPH.
ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2561). การฟื้นคืนกลับมาของจริยธรรมเชิงคุณธรรมในการบริหารรัฐกิจ. วารสารการเมือง
การปกครอง, 8(3), 171.
ปราชญา กล้าผจัญ. (2544). คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร :
บริษัทเยลโล่การพิมพ์.
พระมหาจํานงค์ ผมไผ. (2566). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. วารสารส่งเสริมและพัฒนาวิชากาสมัยใหม่, 1(1),
-79.
พรรณี ประเสริฐวงษ์และวีรนารก มานะกิจ. (2538). การจัดองค์การและการบริหารธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
ม.ป.ท. : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ไพรวัลย์ เคนพรม. (2558). หลักรัฐประศาสนศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ยุวเรศ หลุดพา. (2559). การบริหารเชิงกลยุทธ์ภาครัฐ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2566). การจัดการภาครัฐแนวใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพ: บริษัทบพิธการพิมพ์.
วิเชียร วิทยอุดม. (2551). แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์และทฤษฎีระบบราชการ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพ:
บริษัทธีระฟิล์มและไซเท็กส์.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2545). การบริหาริหลักการ ทฤษฎี ประเด็นทางการศึกษาและบทวิเคราะห์องค์การทาง
การศึกษาไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์.
วุฒิชัย ตาลเพชร. (2564). ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
สุนทร โคตรบรรเทา. (2560). การบริหารการศึกษา หลักการและทฤษฎี. (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ปัญญาชน.
ศิริพร เสริตานนท์. (2559). จริยธรรมในตนเองของครูในโรงเรียน เทศบาลนครลำปาง. วารสารวิชาการ,
(2). 104-105.
ศิริรัตน์ ชุณหคล้าย. (2558). การบริหารจัดการองค์การตามทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัจฉราพร ฉากครบุรี. (2564). คุณธรรมจริยธรรมในการเรียนการสอนทางการศึกษา. วารสารวิชาการมนุษย์
ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(2), 89-90.
อานนท์ อาภรภิรม. (2545). รัฐศาสตร์เบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์.