ปัญหาความมั่นคงไซเบอร์และความร่วมมือในการแก้ปัญหา

ผู้แต่ง

  • ชนลดา อินบุตร -

คำสำคัญ:

ปัญหาความมั่นคง, ไซเบอร์, ความร่วมมือ, การแก้ปัญหา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาความมั่นคงไซเบอร์และความร่วมมือในการแก้ปัญหา ไม่ว่าจะในภาครัฐและภาคเอกชน เพราะในปัจจุบันนี้บุคลากรของภาครัฐนั้นส่วนมากจะเป็นคนรุ่นเก่าที่ยังขาดความเข้าใจและความรู้ในการเข้าถึงปัญหาไซเบอร์ จึงทำให้เกิดปัญหาในการที่จะทำให้ข้อมูลทางด้านเทคโนโลยีมีความปลอดภัยทางการใช้งาน แต่ในทางกลับกันยังมีความเสี่ยงสูงจากการขาดความรู้และความเข้าใจ ในการใช้ที่เทคโนโลยีระบบสารสนเทศนี้ ซึ่งจะปฏิเสธไม่ได้ว่าระบบใหม่ ๆ เข้ามามีบทบาทในการทำงานจัดเก็บข้อมูลหรือที่เรียกว่าฐานข้อมูลสารสนเทศ อีกทั้งยังเป็นช่องทางให้เกิดทั้งข้อดี และข้อเสียในการทำงานในปัจจุบันนี้อย่างมาก

References

จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย. 2560 “การบริหารงานยุติธรรม: วิธีการศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบการบริหารงานยุติธรรม,”เอกสารประกอบการเรียน สาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชญานิศ ภาชีรัตน์. (2540). “อาชญากรรมเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับสถาบันการเงิน: ศึกษากรณีเปรียบเทียบมาตรการในการบังคับใช้กฎหมายของต่างประเทศและประเทศไทย,” วิทยานิพนธ์ปริญญา นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา นิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชฎาภรณ์ สิงห์แก้ว. (2564). บทบาทภาครัฐในการป้องกันอาชญากรรมไซเบอร์เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน.

ซามูเอล กรีนการ์ด. (2560). The Internet of Things: อินเทอร์เน็ตแห่งสรรพสิ่ง แปลโดยทีปกร วุฒิพิทยามงคล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ โอเพ่นเวิลด์ส.

ฐิติมา ภู่ห้อย. (2564). การสร้างกรอบวัฒนธรรมความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ในองค์กรสำหรับการเปลี่ยนผ่านทางความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2567, เข้าถึงได้จาก https://libdcms.nida.ac.th/thesis6/2563/b210818e.pdf.

พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล. (2567). สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2567, เข้าถึงได้จาก https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/069/T_0052.PDF.

วศิน ปั้นทอง. (2567).ความมั่นคงไซเบอร์: แนวคิด ประสบการณ์ของต่างประเทศ และบทเรียนสำหรับประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2567, เข้าถึงได้จาก

https://www.nsc.go.th/wp-content/uploads/Journal/article-00102.pdf.

มหาวิทยาลัยศรีปทุม. (2567). การสร้างกรอบวัฒนธรรมความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ในองค์กรสำหรับการเปลี่ยนผ่านทางความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2567, เข้าถึงได้จาก http://www.dspace.spu.ac.th/bitstream/.pdf.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-10-23