ความร่วมมือในการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษเมืองพัทยา
กรณีศึกษา การบำบัดน้ำเสียพื้นที่เกาะล้าน
คำสำคัญ:
ความร่วมมือ, การบริหารจัดการ, การบำบัดน้ำเสีย, พื้นที่เกาะล้านบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาปัญหาการบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษเมืองพัทยา พื้นที่เกาะล้าน โดยศึกษาจากเอกสารและการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ประกอบด้วย กลุ่มผู้บริหารและผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน จำนวน 3 คน กลุ่มผู้ประกอบการร้านอาหารและที่พัก จำนวน 6 คน และชุมชนเกาะล้าน จำนวน 10 คน ผลการศึกษาพบว่า การบริหารจัดการเป็นไปตามยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566-2570 และเป็นไปตามหลักการบริหาร POSCORB ของ Luther Gulick โดยความสำเร็จเกิดจากความร่วมมือของของทุกภาคส่วนในพื้นที่ แต่สถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนา และปัญหาน้ำเสียนั้นเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับปัญหาอื่น ๆ ทั้งปัญหาขยะ การบุกรุกพื้นที่สาธารณะ การขาดบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะทาง และจำนวนบ่อบำบัดน้ำเสียที่มีเพียง 2 แห่ง ที่สร้างขึ้นเพื่อรองรับน้ำเสียจากสถานประกอบการ ไม่ได้รองรับน้ำเสียจากครัวเรือน การเติบโตของภาคธุรกิจจากการท่องเที่ยว และปัญหาการสื่อสารในพื้นที่ ดังนั้น แนวทางการแก้ไขปัญหาจึงต้องเน้นความร่วมมือ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ โดยปฏิรูปเมืองพัทยาตามลักษณะพึงประสงค์ เน้นการใช้กฎหมายเพื่อควบคุมการบริหารจัดการน้ำเสียอย่างเคร่งครัด ควรมีฝ่ายกองช่างสุขาภิบาลรับผิดชอบโดยตรง และเพิ่มบ่อบำบัดน้ำเสียเพื่อแก้ปัญหาในพื้นที่
References
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2564). เกาะล้าน. ค้นเมื่อ 14 เมษายน 2565, จาก https://thai.tourismthailand.org/Attraction/%E0%B9%80% E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8% B0%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99
ข่าวกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2564). “วราวุธ” ลงพื้นที่ตรวจระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมเกาะล้าน สร้างความพร้อมรับนักท่องเที่ยวหลังสถานการณ์โควิด-19. ค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์, จาก https://gnews.apps.go.th/news?news=81967
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
THE STANDARD. (2565). กกต. รับรอง ปรเมศวร์ งามพิเชษฐ์ เป็นนายกเมืองพัทยาอย่างเป็นทางการแล้ว. ค้นเมื่อ 13 มิย 2566, จาก https://thestandard.co/pattaya-elections-2022-poramet-ngampichet/
นิตย์ สัมมาพันธ์. (2556). ภาวะผู้นำ พลังขับเคลื่อนองค์กรสู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: อินโนกราฟฟิกส์.
โพสต์ทูเดย์. (2567). นายกรัฐมนตรีลงพื้นที่แก้ปัญหาเกาะล้าน-พรุ่งนี้ไปต่ออีอีซี. ค้นเมื่อ 2 มกราคม 2566, จาก https://www.posttoday.com/politics/710382
เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. (2566). การทบทวนแผนพัฒนาเมืองพัทยา ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570 ครั้งที่ 1/2566. ค้นเมื่อ 4 มันาคม 2566, จาก https://www.pattaya.go.th/wp-content/uploads/2023
รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2558). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
เรวัตร ชาตรีวิศิษฎ์. (2539). การบริหารอง์การยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมนิติ.
วราภรณ์ สืบสหการ. (2546). อีคิวสำหรับผู้นำ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
ศันสนีย์ ตันติวิท. (2539). การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนเกาะล้านต่อท้องถิ่น.
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 51(1), 81-89.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และสมชาย หิรัญกิตติ. (2545). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
ศูนย์ข่าวศรีราชา. (2559). นักท่องเที่ยวแห่เที่ยวเกาะล้านพัทยาทะลุ 20,000 คนต่อวัน. ค้นเมื่อ 1 เมษายน 2565, จาก https://mgronline.com/local/detail/9590000038461
สมพงษ์ เกษมสิน. (2523). การบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
เสนาะ ติเยาว์. (2566). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุธี ขวัญเงิน. (2559). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: วี. พริ้นท์.
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (2558). เมืองพัทยาจัดเป็นพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. ค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2566, จาก http://www.dasta.or.th/th/ /sustainable_ designated-areas/530.html
Adnyana G., Wiryawan, W. G., Surata, S. P. K., and Sumantra, K. (2020). Community participation on wastewater treatment plant development in Bajera village. International Journal of Applied Science and Sustainable Development, 2(2), 11-18.
Bateman, T. S., and Snell, S. A. (1999). Management: Building competitive advantage (4th ed.). Boston: Irwin McGraw-Hill.
Croewther, J. (1996). Oxford advanced learner’ dictionary (5th ed). New York: Oxford University.
Daft, R. L. (1999). Leadership theory and practice. Fort Worth, TX: Dryden Press.
Dessler, G. (1998). Management. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.
Dubrin, A. J. (1998). Leadership: Research, findings, practice and skills. Boston: Houghton Mifflin.
GREEN NETWORK. (2564). รมว. ทส. ลงพื้นที่ตรวจระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมเกาะล้าน สร้างความพร้อมรับนักท่องเที่ยวหลังสถานการณ์โควิด-19, ค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.greennetworkthailand.com
Lucas, J. R. (1998). Balance of power. New York: AMACOM.
Martin, E. (1999). Changing academic work: Developing the learning university. London: The Society for Research into Higher Education & Open University.
MGR Online. (2566). สัญญาณดียอดนักท่องเที่ยวบนเกาะล้านพุ่งเฉลี่ย 10,000 คนต่อวัน ยอดนี้ยังไม่รวมทัวร์จีน. ค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2566, จาก https://mgronline.com/local/detail/9660000024459
Pattaya City. (2012). Pattaya city hall. Retrieved May 2, 2012, from http://www.pattaya.go.th
Plunkett, W. R., and Raymond, F. A. (1992). Introduction to management. London: Chapman & Hall.
การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล
คนที่ 1 ผู้ประกอบการร้านเยิ้มคาเฟ่, สัมภาษณ์ส่วนบุคคล, พฤษภาคม 23, 2566.
คนที่ 2 ผู้ประกอบการชลาลัย, สัมภาษณ์ส่วนบุคคล, พฤษภาคม 2, 2566.
คนที่ 3 ผู้ประกอบการร้านโชกุน, สัมภาษณ์ส่วนบุคคล, พฤษภาคม 2, 2566.
คนที่ 4 ผู้ประกอบการร้านวี โฮมสเตย์ บ้านดรีม, สัมภาษณ์ส่วนบุคคล, พฤษภาคม 23, 2566.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2025 ศุภัทรา อำนวยสวัสดิ์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.