วิพากษ์สังคมไทยในระบอบประชาธิปไตยยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
วิพากษ์วิจารณ์, ประชาธิปไตยดิจิทัล, สังคมบทคัดย่อ
บทความวิชาการเรื่อง วิพากษ์สังคมไทยในระบอบประชาธิปไตยยุคดิจิทัลมีวัตถุประสงค์ เพื่อสะท้อนสภาพสังคมไทยที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตถึงปัจจุบัน บนรากฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การเข้าถึงอุปกรณ์และอินเทอร์เน็ตได้มากยิ่งขึ้น ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ต้องปรับตัวให้เข้ากับพฤติกรรมของผู้คนที่เปลี่ยนไปในทุก ๆ ด้าน รวมถึงด้านการเมือง จนเกิดคำว่า ประชาธิปไตยดิจิทัล (Digital Democracy) เป็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตั้งแต่ในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ระดับชาติ และระดับโลก ด้วยคำว่าดิจิทัล หมายถึง เชิงเลข ในทฤษฎีข้อมูลหรือระบบข้อมูล เป็นวิธีแทนความหมายของข้อมูลหรือชิ้นงานต่างๆในรูปแบบของตัวเลข โดยเฉพาะเลขฐานสอง ที่ไม่ต่อเนื่องกัน ซึ่งต่างจากระบบอนาล็อกที่ใช้ค่าต่อเนื่องหรือสัญญาณอนาล็อกซึ่งเป็นค่าต่อเนื่อง หรือแทนความหมายของ ข้อมูลโดยการใช้ฟังชั่นที่ต่อเนื่องโดยคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ปัจจุบันส่วนมากทำงานอยู่ด้วยการส่งสัญญาณแบบดิจิตอล เฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีสื่อสารสารสนเทศ จึงมีการเรียกยุคนี้ว่า “ยุคดิจิทัล” โดยแบ่งเป็นยุคได้แก่ Digital1.0 ยุคของอินเทอร์เน็ต Digital 2.0 ยุคแห่ง Social Media Digital 3.0 ยุคของบิ๊กดาต้า(Data Analytic /Cloud Computing/Application) และ Digital 4.0 ยุค Machine-2-Machine กล่าวคือเป็นยุคของอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีที่มีความรวดเร็วในการสื่อสาร การส่งผ่านข้อมูลความรู้ต่างๆที่มีอยู่ในสังคมไม่ว่าจะเป็น ข่าวสาร ภาพหรือวิดีโอที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วทุกที่และทุกเวลา ทั้งนี้ ผู้เขียนได้รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล แนวคิด ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์มาบูรณาการในการนำเสนอมุมมองความเปลี่ยนแปลงทางสังคมผ่านช่วงเหตุการณ์และยุคสมัยเพื่อแสดงให้เห็นถึงคุณค่า ค่านิยม ทั้งในแบบรูปธรรมและนามธรรม รวมถึงเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบทั้งที่เป็นแบบส่งเสริมและผลกระทบที่ส่งผลต่อการลดทอนคุณค่า ทั้งพร้อมเสนอหนทางดำรงไว้และแนวทางรับมือเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงให้ทันในโลกแห่งเทคโนโลยีหรือที่เรียกกันจนคุ้นหูว่าอยู่ในยุคของดิจิทัล
References
เคนดรา เชอรรี่. (2566). การแบ่งขั้วของกลุ่มส่งผลต่อทัศนคติที่รุนแรงอย่างไร. สืบค้นเมื่อ 25 มี.ค.2568 จาก https://www.verywellmind.com/group-polarization-theories-and-examples-7547335
ชำนาญ จันทร์เรือง. (2565). วัฒนธรรมการวิพากษ์แบบไทยๆ. สืบค้นเมื่อ 8 ม.ค.2568 จาก https://prachatai.com/journal/2022/07/99625
ฉัตรพงศ์ ชูแสงนิล. (2562). ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital intelligence). สืบค้นเมื่อ 13 ม.ค.2568 จาก
https://www.scimath.org/article-technology/item/10611-digital-intelligence
ปธาน สุวรรณมงคล. (2567). เสรีนิยม.ฐานข้อมูลการเมืองการปกครองสถาบันพระปกเกล้า. สืบค้นเมื่อ 21 มี.ค.2568 จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=เสรีนิยม
ภันทิลา ประเสริฐสกุล. (2565). วิจารณ์ไม่ได้แปลว่าด่า: เหตุใดคนไทยจึงโกรธกันออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 13 ม.ค.2568 จาก https://www.ricemedia.co/thailand/prabda-yoon-criticism-thai-society/
มติชนออนไลน์. (2561). วิพากษ์…สังคมไทยยุคเปลี่ยนผ่าน‘ปชต. สืบค้นเมื่อ 8 ม.ค.2568 จาก https://www.matichon.co.th/politics/news_1220214
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2568). ภูมิคุ้มกันในโลกดิจิทัล (Digital Resilience)ทักษะที่เด็กและเยาวชนไทยยุคใหม่ต้องมี. สืบค้นเมื่อ 23 มี.ค.2568 จาก https://mahidol.ac.th/musef/ภูมิคุ้มกันในโลกดิจิทัล/#
เยฟเกนี โคห์ลอฟ. (2021). บทวิจารณ์ การผูกขาดโดยกลุ่มผูกขาด. สืบค้นเมื่อ 23 มี.ค.2568 จาก https://www.concurrences.com/en/dictionary/oligopoly
วารสารจุลนิติ. (2554). หลักสิทธิและเสรีภาพ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย : แนวความคิดและภาคปฏิบัติ. สืบค้นเมื่อ 25 มี.ค.2568 จากhttps://gistda.or.th /ewtadmin//ewt/gistda_ web/article_attach/articlefile_2021072215424920210.pdf
วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์. (2567). ทฤษฎีสมคบคิดในมุมมองมานุษยวิทยา. สืบค้นเมื่อ 23 มี.ค.2568 จาก https://www.sac.or.th/portal/th/article/detail/605
วีระ เลิศสมพร. (2563). ประชาธิปไตยดิจิทัล. กรุงเทพฯ: หอสมุดรัฐสภา.
สมชัย เลิศสุทธิวงศ์. (2560). ประชาธิปไตยกับการสื่อสารยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยศาลรัฐธรรมนูญ.
อรวรรณ เกษร. (2563). การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยในยุคดิจิทัล. รัฐสภาสาร 68(6), 5-22.
อภิญญา ตั้งประสิทธิ์ศิลป์. (2562). ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลข่าวสารบน เฟซบุ๊กที่มีผลต่อพฤติกรรมการส่งต่อข้อมูลข่าวสารของผู้ใช้สื่อสังคมในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
Barnett, C. and Low, M. (2004). Spaces of Democracy : Geographical Perspectives on Citizenship, Participation and Representation. First Edition. London: SAGE Publications Ltd.
Bildt, C. (2017). The digital age. Article: 1344030 | Published online: 25 Aug 2017. Retrieved 12 Jan. 2025. From https://doi.org/10.1080/16549716.2017.1344030
Keyes, C.F. (2015). Democracy Thwarted :The Crisis of Political Authority in Thailand. ISEAS Publishing. Retrieved 12 Jan 2025. From https://doi.org/10.1355/9789814695114
O'Callaghan, C. (2020). Post politics and Post-Truth International Encyclopedia of Human Geography (Second Edition). https://doi.org/10.1016/B978-0-08-102295-5.10683-3
Thorn Pitidol. (2016). Redefining Democratic Discourse in Thailand’s Civil Society. Retrieved 12 Jan 2025. From https://doi.org/10.1080/00472336.2016.1164229
van den Hoven, J. (2024). Democracy in the Digital Age. Retrieved 23 March 2025. From https://shs.hal.science/halshs-04844505v1
Wikipedia. (2009). Royalist. Retrieved 23 March 2025.From https://en.wikipedia.org/wiki/Royalist
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2025 วีรชาติ ภักดี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.