บทบาทของชาวญี่ปุ่นกับการเมืองภายในสมัยอยุธยา พ.ศ. 2149-2310
คำสำคัญ:
บทบาท, ชาวญี่ปุ่น, การเมืองภายใน, สมัยอยุธยาบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาจุดเริ่มต้นของการเข้ามามีบทบาททางการเมืองภายในอยุธยาของชาวญี่ปุ่น (2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมและการแสดงออกทางการเมืองภายในอยุธยาของชาวญี่ปุ่น และ (3) เพื่อศึกษามูลเหตุในการสิ้นสุดบทบาททางการเมืองของชาวญี่ปุ่นสมัยอยุธยาก่อนปี พ.ศ.2310 ในการศึกษาใช้การศึกษาจากเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องแล้ววิเคราะห์ตีความตามวิธีการทางประวัติศาสตร์ ผลจากการศึกษาพบว่า (1) ชาวญี่ปุ่นเริ่มมีบทบาทเกี่ยวข้องกับการเมืองภายในอยุธยาหลังจากการเข้ามาอยู่ ในกองอาสาญี่ปุ่นของสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ปีพ.ศ. 2149 (2) พฤติกรรมทางการเมืองที่ชาวญี่ปุ่นแสดงออกคือ บทบาทของชาวญี่ปุ่นในการสนับสนุน การเปลี่ยนแปลงตัวผู้ปกครองอยุธยาในรูปแบบต่างๆ เช่น การใช้กำลังกดดัน ต่อรองกับผู้มีอำนาจทางการเมือง เป็นต้น และบทบาทในการกำหนดตัวผู้ปกครองอยุธยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมระหว่างปี พ.ศ. 2154-2171 และ (3) ชาวญี่ปุ่นสิ้นสุดบทบาททางการเมืองสมัยภายในอยุธยาในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองที่มีนโยบายขับไล่อิทธิพลชาวญี่ปุ่นออกจากอยุธยาจนหมดสิ้นก่อนปีพ.ศ. 2310
References
กรกิต ชุ่มกรานต์. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนต่างๆ ในท่าเรือนานาชาติพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2133-2231. วิทยานิพนธ์อักษร ศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรมศิลปากร. (2513). บันทึกเรื่องสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศไทยกับนานาประเทศในศตวรรษที่ 17 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.
กรมศิลปากร. (2521). รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟาน ฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.
ขจร สุขพานิช. (2521). “การต่างประเทศในแผ่นดินพระเอกาทศรถ”, วารสารประวัติศาสตร์. 3(1), 77-92.
ซาเตา, เซอร์เออร์เนสต์. (2524). ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 20 จดหมายเหตุเรื่องสัมพันธไมตรีระหว่างกรุงศรีอยุธยากับญี่ปุ่น. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพหลวงจินดาสหกิจ (ละม้าย ธนะศิริ), เมรุวัดธาตุทอง พระโขนง กรุงเทพมหานคร, 11 มกราคม 2524.
ณัฐชวนันท์ จันทคนธ์. (2519). ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ พ.ศ.2480 ถึง พ.ศ.2483. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ถนอม อานามวัฒน์. (2542). “สัมพันธไมตรีระหว่างไทยกับญี่ปุ่นสมัยกรุงศรีอยุธยา”, วารสารประวัติศาสตร์ ฉบับพิเศษ, 54-66.
ทวี ธีระวงศ์เสรี. (2524). สัมพันธภาพทางการเมืองระหว่างไทยกับญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
ปิยนาถ บุนนาค. (2523). “ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่นสมัยอยุธยา” เอกสารประกอบการสัมมนาประวัติศาสตร์อยุธยา. ณ วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา วันที่ 26-29 มกราคม พ.ศ.2523.
พงศ์ธิดา เกษมสิน. (2528). “บทบาทของชาวญี่ปุ่นต่อการเมืองภายในอยุธยาช่วงกลาง”, วารสารไทย-ญี่ปุ่นศึกษา 2(1), 73-85.
พันจันทนุมาศ (เจิม). (2561). พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม). กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา.
พลับพลึง คงชนะ. (2536). “หมู่บ้านญี่ปุ่นที่อยุธยา”, วารสารไทย-ญี่ปุ่นศึกษา 10 (1), 50-69.
พลับพลึง คงชนะ. (2551). “ยามาดะ นากามาสะที่อยุธยาและนครศรีธรรม ราช” ใน เอกสารประกอบสัมมนาเรื่องโลกของอิสลามและมุสลิมในอุษาคเนย์. ณ โรงแรมทวินโลตัส นครศรีธรรมราช, 28-29 พฤศจิกายน 2551, หน้า 1-18.
มานพ ถาวรวัฒน์สกุล. (2536). ขุนนางอยุธยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ยศ สันตสมบัติ. (2535). อำนาจ บุคลิกภาพและผู้นำทางการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วรพร ภู่พงศ์พันธ์. (2542). ความเป็นสังคมนานาชาติของพระนครศรีอยุธยาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง ค.ศ.1767. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2528). “จดหมายเหตุปีเตอร์ วิลเลี่ยมสัน ฟลอริส (Peter Williamson Floris) : การใช้เอกสารต่างประเทศสอบวินิจฉัยพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพระราชหัตถเลขาเฉพาะรัชกาลสมเด็จพระเอกาทศรถ/อินทราชา/ทรงธรรม (ค.ศ.1610-1628)”. แปลโดย อนันต์ชัย เลาหะพันธุ์. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 8 (1), 2528 : 5-30.
ศุกลรัตน์ ธาราศักดิ์. (2531). สัมพันธไมตรีระหว่างไทยกับญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
สมจัย อนุมานราชธน. (2509). การทูตของไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระจันทร์.
สมเด็จพระพนรัตน์. (2558). พระราชพงศาวดารฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ตรวจสอบชำระจากเอกสารตัวเขียน. ศานติ ภักดีคำ (ผู้ตรวจสอบ). กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
สุรางค์ศรี ตันเสียงสม. (2520). ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรางค์ศรี ตันเสียงสม. (ผู้รวบรวมและเรียบเรียง). (2528). 380 ปี สัมพันธไมตรีญี่ปุ่น-ไทย. กรุงเทพฯ : บริษัทมังกรการพิมพ์และโฆษณา จำกัด.
อิชิอิ โยเนะโอ และโยชิกาวะ โทชิฮารุ. (2542). ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
Berlo, L.K. (1996). The Process of Communication. New York: Holt Rinhart and Winston.
Bluhm, William T. (1965). Theories of the Political System. New York: Prentice-Hall.
Dahl, Robert A. (1973). Modern Political Analysis. New Jersey: Prentice-Hall.
Dhiravat Na Pombejra. (1984). A Political History of Siam under the Prasathong Dynasty, 1629-1688. Ph.D. dissertation, University of London.
Lasswell, Harold D. (1936). Politics: Who Gets, What, When, How. New York: McGraw-Hill.
Levinson, D. (1964). Role, Personality and Social Structure. New York: McMillan.
Liem, Vu Due. (2011). “Japanese Military Involvement in Ayutthaya, 1600-1630”. Bangkok: Asian Research Center for Migration, Chulalongkorn University. ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2563 จาก http://arcmthailand.com/document/documententer/janpnese%20military20%involvement%ayuatthaya20%201600%20%201630.pdf.
Morganthau, Hans J. (2005). Politics Among Nations : The Struggle for Power and Peace. Boston: McGraw-Hill Higher Education.
Nishioka, Hideo. (1977). A Chronological History Between Thailand and Japan. Tokyo: Keio University Press.
Smith, George Vinal. (1974). The Dutch East India Company in the Kingdom of Ayutthaya, 1604-1694. Illinois: Northern Illinois University Press.
Wolin, Sheldon. (2004). Politics and Visions : Continuity and Innovation in Western Political Thought. New Jersey: Princeton University Press.
Yoko, Nagazumi. (1999). “Ayutthaya and Japan: Embassies and Trade in the Seventeenth Century” in Form Japan to Arabia: Ayutthaya Maritime Relations with Asia. pp. 89-103. Kennon Breazeale (ed.). Bangkok: The Foundation for the Promotion of Social Science and Humanities Textbooks Project.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2024 ธานี สุขเกษม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.