หลากลีลาการเขียนนำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย

มุมมองที่แตกต่างของนักวิชาการไทย

ผู้แต่ง

  • วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

การทบทวนวรรณกรรม, การเขียนทบทวนวรรณกรรม, การวิจัย

บทคัดย่อ

การทบทวนวรรณกรรมเป็นขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญมากในกระบวนการ วิจัย เพราะเป็นขั้นตอนที่จะบอกให้ทราบว่า ผู้ที่ทำการศึกษาในเรื่องนั้นๆ มีความรอบรู้ในปัญหาที่ตนทำการวิจัยและได้ศึกษาค้นคว้ามาแล้วมากน้อยเพียงใดวรรณกรรมที่นักวิจัยได้ทบทวนมาจะถูกนำเสนอในรูปการเขียนในบทต่างๆ ของเล่มวิจัย ซึ่งในความเป็นจริงผู้เขียนพบว่านักวิชาการมีคำอธิบายหรือมีลีลาการเขียนผลการทบทวนวรรณกรรมที่แตกต่างกัน การศึกษาจากเอกสารเล่มใดเล่มหนึ่งอาจให้ภาพสะท้อนความเป็นจริงไม่รอบด้าน ดังนั้นบทความนี้จึงทำการรวบรวมความแตกต่างหลากหลายของคำอธิบายโดยจัดแบ่งเป็น            3 ประเด็นลีลาได้แก่ 1) ลีลาการนำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมโดยนำเสนอความคิดเห็นส่วนตนของนักวิจัย 2) ลีลาการนำเสนอส่วนของแนวคิด/ทฤษฎี และส่วนของงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และ 3) ลีลาการนำเสนอโดยใช้เอกสารที่ทันสมัย ทั้งนี้ในแต่ละประเด็นลีลาได้สอดแทรกทัศนะหรือลีลาของผู้เขียนด้วย

References

กาญจนา วัธนสุนทร. (2550). บทที่ 3 การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง. ตำราชุดฝึกอบรมหลักสูตร “นักวิจัย” (น. 41-74). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

ชาลิสา มากแผ่นทอง. (2559). การวิจัยการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีรพล ทิพย์พยอม. (2564). การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบขั้นพื้นฐานสำหรับบุคลากรทางการแพทย์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์. (2561). หน่วยที่5 การทบทวนวรรณกรรมการวิจัยเชิงคุณภาพ. ประมวลสาระชุดวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์ (น. 1-69). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2552). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 6). อุบลราชธานี: วิทยาออฟเซทการพิมพ์.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2552). วิจัยและสถิติ : คำถามชวนตอบ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิภา ศรีไพโรจน์. (2531). หลักการวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศึกษาพร.

บุญธรรม จิตต์อนันต์. (2546). การวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.

ปกรณ์ ศิริประกอบ. (2564). Validity และ Reliability ในการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พงษ์เทพ สันติกุล. (2561). การวิจัยทางวิทยาศาสตร์สังคมสำหรับนักศึกษาและผู้ปฏิบัติงานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2553). การวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

พระครูสังฆรักษ์เกียรติศักดิ์ กิตติปัญโญ. (2558). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. เชียงใหม่: ประชากรธุรกิจ.

พวงทิพย์ ชัยพิบาลสฤษดิ์. (2542). “การทบทวนทฤษฎีตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย” ใน ประพิณ วัฒนกิจ (บรรณาธิการ). ระเบียบวิธีวิจัย: วิจัยสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: กองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข. (หน้า 107-109).

พัชนี เชยจรรยา. (2558). การวิจัยเชิงปริมาณทางนิเทศศาสตร์. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วรัญญา ภัทรสุข. (2557). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ. (2560). POL6001 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ. (2564). “จงทำ” และ “จงอย่าทำ” ในการทบทวนวรรณกรรม ใน วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี. 18(1), 196-206.

วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ ปะการัง ชื่นจิตร และวรุณศิริ พรพจน์ธนมาศ. (2564). บทวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ต่อการอธิบายแรงจูงใจในการทำงานผ่านทฤษฎีความเสมอภาคของ J. Stacy Adams ใน วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี. 17(3), 180-190.

ศรีเพ็ญ ทรัพย์มนชัย มนวิกา ผดุงสิทธิ์ และ นภดล ร่มโพธิ์. (2557). การวิจัยทางธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.

ศศิธร แม้นสงวน. (2562). การวิจัยทางคณิตศาสตร์ศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2551). ระเบียบวิธีวิจัยทางสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: เทพเพ็ญวานิสย์.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: สามลดา.

อภิวัฒน์ สมาธิ. (2561). วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. สงขลา: เทมการพิมพ์.

อรพรรณ คงมาลัย และอัญณิฐา ดิษฐานันท์. (2562). เทคนิควิจัยด้านการบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

อรุณี อ่อนสวัสดิ์. (2551). ระเบียบวิธีวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). พิษณุโลก: ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อัญชนา ณ ระนอง. (2554). ระเบียบวิธีวิจัย. กรุงเทพฯ: แสงสว่างเวิลด์เพรส.

อัศวิน แสงพิกุล. (2562). ระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Adams, J. Stacy. (1965). Inequity in Social Exchange. Advance in Experimental and Social Psychology (pp.267-299). U.S.A.: Allyn Bacon.

Gay, Lorraine R., Mills, Geoffrey E. and Airasian, Peter W. (2014). Educational Research: Competencies for Analysis and Applications. (10th ed). U.S.A.: Pearson Education.

เผยแพร่แล้ว

12-07-2025

How to Cite

พรพจน์ธนมาศ ว. . (2025). หลากลีลาการเขียนนำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย: มุมมองที่แตกต่างของนักวิชาการไทย . วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 5(1), 1–27. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/RJPA/article/view/2122