ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณกับความเป็นสากล (ที่ยังไม่เป็นสากล?)
บทสารวจความหลากหลายของคำอธิบายการสุ่มตัวอย่างและการหาขนาดตัวอย่างในหนังสือระเบียบวิธีวิจัยและสถิติเพื่อการวิจัยโดยนักวิชาการไทย
คำสำคัญ:
การวิจัยเชิงปริมาณ, ระเบียบวิธีวิจัย, การสุ่มตัวอย่างบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างหลากหลายในคาอธิบายการสุ่มตัวอย่างและการหาขนาดตัวอย่างในหนังสือทางด้านระเบียบวิธีวิจัยและสถิติเพื่อการวิจัยใน 6 ประเด็นได้แก่ 1) คาแปล “sampling” 2) ความเหมาะสมของการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยการจับสลากแบบแทนที่กับแบบไม่แทนที่ 3) ความจาเป็นของการมีบัญชีรายชื่อประชากรในการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ 4) จานวนขั้นตอนของการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน 5) ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญและแบบตามสะดวก และ 6) การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยพิจารณาจากขนาดของประชากร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเอกสาร จากหนังสือด้านระเบียบวิธีวิจัยและสถิติเพื่อการวิจัยในประเทศไทยที่ปรากฏในห้องสมุด 4 แห่ง จานวน 324 เล่ม
ผลการศึกษาพบว่า นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นว่า 1) “Sampling” แปลว่าการสุ่มตัวอย่างทั้งแบบอาศัยหลักความน่าจะเป็นและแบบไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็น (ร้อยละ 43.52) 2) ความเหมาะสมของการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยการจับสลากแบบแทนที่และแบบไม่แทนที่นั้นนักวิจัยสามารถกระทาได้ทั้ง 2 แบบให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจ (ร้อยละ 53.33) 3) การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบสามารถดาเนินการได้แม้ในกรณีที่ผู้วิจัยไม่มีบัญชีรายชื่อประชากร (ร้อยละ 86.08) 4) การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนต้องมีอย่างน้อย 2 ขั้นตอนขึ้นไป (ร้อยละ 75.44) 5) การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญและการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวกเหมือนกัน (ร้อยละ 56.9) และ 6) นักวิชาการส่วนใหญ่นิยมกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยพิจารณาจากขนาดของประชากรแบบจุด (ร้อยละ 60.98) ทั้งนี้ในแต่ละประเด็นที่พบความแตกต่างหลากหลายของคาอธิบายนั้น สะท้อนให้เห็นถึงความพยายามที่จะเป็นสากลของระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณในการสุ่มตัวอย่างและการหาขนาดตัวอย่าง แต่จวบจนปัจจุบันก็ยังไม่สามารถบรรลุซึ่งความเป็นสากลได้อย่างสมบูรณ์แบบ ทั้งนี้ผู้วิจัยยังคงเห็นด้วยกับความพยายามในการสร้างความเป็นสากลในภาพใหญ่ เพียงแต่ว่าอาจไม่ใช่ความเป็นสากลที่เคร่งครัดแบบวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
References
กิ่งพร ทองใบ. (2544). ประชากรและสิ่งตัวอย่าง. ใน ประมวลสำระชุดวิชำ วิทยำนิพนธ์ (หน่วยที่ 6). นนทบุรี: สำนักพิมพ์หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ และคณะ. (2556). ระเบียบวิธีวิจัยทำงธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: พงษ์วรินพริ้นติ้ง.
กุณฑลี รื่นรมย์. (2553). กำรวิจัยกำรตลำด (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เครือวัลย์ ลิ้มปิยะศรีสกุล. (2530). กำรวิจัยทำงรัฐประศำสนศำสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2558). กำรวิจัยตลำด. กรุงเทพฯ: โฟกัสมีเดีย แอนด์พับลิชชิ่ง.
จรวย สุวรรณบำรุง. (2560). กระบวนกำรวิจัย: กำรประยุกต์ใช้ทำงสุขภำพและกำรพยำบำล (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครศรีธรรมราช: ห.พลการพิมพ์.
จุมพล สวัสดิยากร. (2520). หลักและวิธีกำรวิจัยทำงสังคมศำสตร์. กรุงเทพฯ: ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมการวิจัยทางสังคมศาสตร์ สภาวิจัยแห่งชาติ.
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. (2553). หลักกำรวิจัยทำงสังคม. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.
ชาลิสา มากแผ่นทอง. (2559). กำรวิจัยกำรสื่อสำร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรงค์ ศรีสวัสดิ์. (2552). เทคนิคกำรวิจัยทำงวิทยำศำสตร์สังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดุษณี สุทธปรียาศรี. (2525). คู่มือผู้บริหำร กำรรวบรวมข้อมูล กำรวิจัยสนำม. กรุงเทพฯ: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ตุ้ย ชุมสาย, ม.ล. (2502). สถิติศำสตร์และกำรวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กิ่งเพชร.
ธนัน อนุมานราชธน. (2544). กำรวิจัยเชิงปริมำณทำงสังคมศำสตร์. เชียงใหม่: เชียงใหม่พิมพ์สวย.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). กำรวิจัยและกำรวิเครำะห์ข้อมูลทำงสถิติด้วย SPSS และ AMOS (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.
ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2552). ระเบียบวิธีวิจัยทำงพฤติกรรมศำสตร์และสังคมศำสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 6). อุบลราชธานี: วิทยาออฟเซทการพิมพ์.
นวระ ทาสุวรรณ. (2556). วิธีวิจัยทำงธุรกิจ. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
นิภา เมธธาวิชัย. (2542). สถิติเพื่อกำรวิจัย. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏธนบุรี.
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2550). ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง. ใน ตำรำชุดฝึกอบรมหลักสูตร “นักวิจัย”. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). กำรวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). ระเบียบวิธีกำรวิจัยทำงสังคมศำสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.
บุญเรียง ขจรศิลป์. (2543). วิธีวิจัยทำงกำรศึกษำ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ประสพชัย พสุนนท์. (2555). กำรวิจัยกำรตลำด. กรุงเทพฯ: ท้อป.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2556). วิจัยกำรเรียนกำรสอน. กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด.
ปรีชา อัศวเดชานุกร และเสาวรส ใหญ่สว่าง. (2551). สถิติเพื่อธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปาริชาต สถาปิตานนท์. (2549). ระเบียบวิธีวิจัยกำรสื่อสำร (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พงษ์เทพ สันติกุล. (2561). กำรวิจัยทำงวิทยำศำสตร์สังคมสำหรับนักศึกษำและผู้ปฏิบัติงำนสวัสดิกำรสังคมและสังคมสงเครำะห์. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2553). กำรวิจัยทำงกำรศึกษำ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2545). ศำสตร์แห่งกำรวิจัยทำงกำรเมืองและสังคม (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีไทย และสมาคมรัฐศาสตร์แห่งประเทศไทย.
พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2557). ปรัชญำสังคมศำสตร์: กำรอธิบำยทำงสังคม รำกฐำนสำหรับกำรวิจัยทำงสังคมศำสตร์. กรุงเทพฯ: บางกอกบล็อก.
พิชิต พิทักษ์เทพสมบัติ. (2547). กำรสำรวจโดยกำรสุ่มตัวอย่ำง: ทฤษฎีและปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
พิตร ทองชั้น. (2537). การวางแผนการวิจัยและการรวบรวมข้อมูล ใน ประมวลสำระชุดวิชำ กำรวิจัยหลักสูตรและกระบวนกำรเรียนกำรสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 2, หน่วยที่ 3). นนทบุรี: บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เพ็ญแข แสงแก้ว. (2541). กำรวิจัยทำงสังคมศำสตร์. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภัทรา นิคมานนท์. (2539). ควำมรู้พื้นฐำนเกี่ยวกับกำรวิจัย. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์.
รัตนสุดา ปุณณะหิตานนท์. (2561). กำรวิจัยกำรโฆษณำ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
รัตนา ทรัพย์บำเรอ. (2559). ระเบียบวิธีวิจัยทำงสำธำรณสุข. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคกำรวิจัยทำงกำรศึกษำ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
วรรณี แกมเกตุ. (2555). วิธีวิทยำกำรวิจัยทำงพฤติกรรมศำสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรัญญา ภัทรสุข. (2557). ระเบียบวิธีวิจัยทำงสังคมศำสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ. (2560). ระเบียบวิธีวิจัยทำงรัฐศำสตร์. กรุงเทพฯ: หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศรีเพ็ญ ทรัพย์มนชัย, มนวิกา ผดุงสิทธิ์ และนภดล ร่มโพธิ์. (2557). กำรวิจัยทำงธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
ศักดิ์ ผาสุกนิรันต์. (2504). ข้อแนะนำบำงประกำรสำหรับนักวิจัย. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศุภวัฒนา วงศ์ธนวสุ และ พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์. (2550). สถิติพื้นฐำนเพื่องำนวิจัยท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: เอ็กซ์เปอร์เน็ท.
สมบัติ จันทรวงศ์. (2525). ปรัชญาการเมืองและรัฐศาสตร์. ใน สมบัติ จันทรวงศ์ (บรรณาธิการ), รัฐศำสตร์ : สถำนภำพและพัฒนำกำร. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.
สิทธิ์ ธีรสรณ์. (2552). แนวคิดพื้นฐำนทำงกำรวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ระเบียบวิธีกำรวิจัยทำงสังคมศำสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: สามลดา.
สุนีย์ มัลลิกะมาลย์. (2552). วิทยำกำรวิจัยทำงนิติศำสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมนา โสตถิผลอนันต์. (2561). วิธีวิทยำกำรวิจัยทำงกำรศึกษำ: แนวทำงสำหรับครูปฐมวัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุจิตรา บุณยรัตพันธุ์. (2563). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับรัฐประศำสนศำสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 19). กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2549). หลักและทฤษฎีกำรวิจัยทำงสังคมศำสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ประสิทธิภัณฑ์แอนด์พริ้นติ้ง.
สุรศักดิ์ หลาบมาลา. (2523). วิจัยกำรศึกษำ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แพร่พิทยา.
สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์. (2550). เทคนิคทำงสถิติเพื่อกำรวิจัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สุวรรณา ธุวโชติ. (2541). วิธีวิจัยทำงสหกรณ์. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เสาวลักษณ์ สุขวิรัช. (2560). POL4311 กำรสื่อควำมเข้ำใจในกำรบริหำรงำนภำครัฐ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
องอาจ นัยพัฒน์. (2551). วิธีวิทยำกำรวิจัยเชิงปริมำณและเชิงคุณภำพทำงพฤติกรรมศำสตร์และสังคมศำสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สามลดา.
อาคม ใจแก้ว. (2551). วิธีวิทยำกำรวิจัยทำงรัฐประศำสนศำสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: แม็กมีเดีย วาย ทู เค เพรส.
วารสารรามคา แหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์ ปี ที่ 5 ฉบับที่ 2/2565
หน้า 161
อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล. (2561). กำรวิจัยทำงกำรศึกษำ: แนวคิด และกำรประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Babbie, E. (2010). The Practice of social research. (12th ed.). Boston: Wadsworth, Cengage Learning.
Eller, W. S., Gerber, B. J. and Robinson, S. E. (2018). Public administration research methods: Tools for evaluation and evidence-based practice. (2nd ed.). New York: Routledge.
Gay, L. R., Geoffrey E. M. and Peter W. A. (2014). Educational research: Competencies for analysis and applications. (10th ed.). New York: Pearson Education.
Kerlinger, F. N. (1986). Foundations of behavioral research. New York: Holt, Rinehart and Winston.
Neuman, W. L. (2014). Social research methods: Qualitative and quantitative approaches. (7th ed.). New York: Pearson Education.
Whetsell, T. A., and Shield, P. M. (2015). “Dynamics of positivism in the study of public administration: A brief intellectual history and reappraisal.” Administration and Society, 47(4), 416-446.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2025 วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.