การบริหารจัดการการให้บริการด้านกฎหมายความปลอดภัยในการทำงานแก่ประชาชน

กรณีศึกษาเฉพาะสานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 3

ผู้แต่ง

  • พรพรรณ เหมาะสมาน นักศึกษา โครงการรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ณัฐพงศ์ บุญเหลือ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

ปัจจัยการบริหาร, การให้บริการ, สานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 3

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพและคุณภาพในการบริหารจัดการการให้บริการด้านกฎหมายความปลอดภัยในการทำงานแก่ประชาชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ปฏิบัติงาน และผู้รับบริการ ณ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 3 จานวน 167 กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งได้มาจากวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล รวมถึงการใช้สถิติเชิงพรรณนา อันได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน อันได้แก่ F-Test และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ในการวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยการบริหารทั้ง 4 ด้าน อันได้แก่ ปัจจัยด้านบุคลากร (คน) ปัจจัยด้านงบประมาณ (เงิน) ปัจจัยด้านทรัพยากร (วัสดุ/อุปกรณ์/สิ่งของ) และปัจจัยด้านการจัดการ ส่งผลต่อประสิทธิภาพและคุณภาพในการบริหารจัดการการให้บริการด้านกฎหมายความปลอดภัยในการทางานแก่ประชาชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยด้านการจัดการ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลสูงสุดต่อการบริหารจัดการการให้บริการด้านกฎหมายความปลอดภัยในการทางานแก่ประชาชนทั้งในด้านประสิทธิภาพและด้านคุณภาพ

References

กนกพรรณ สิงหการ. (2564). การประเมินผลการบริหารจัดการพิธีการศุลกากรด้วยการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal Transports). การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

เฉลิมพล ศรีหงษ์. (2565). เอกสารประกอบการบรรยายกระบวนวิชาระเบียบวิธีการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, โครงการรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต.

ณัฐฐา เสวกวิหารี. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการโรงพยาบาลรามาธิบดี. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นนทวัฒน์ แร่ทอง. (2564). การศึกษาการบริหารจัดการการจัดทาบัตรประจาตัวประชาชน ศึกษาเฉพาะกรณีจุดบริการด่วนมหานคร (Bangkok Express Service) สาขาศูนย์การค้าเกตเวย์ เอกมัย สานักทะเบียนท้องถิ่นเขตคลองเตย ภายใต้นโยบายของกรุงเทพมหานครและกระทรวงมหาดไทย. การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

นิยม สองแก้ว. (2565). มอบนโยบายและทิศทางการปฏิบัติราชการของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน, ค้นเมื่อ1 มิถุนายน 2566, จาก https://personnel.labour.go.th/attachments/article/2403/มอบนโยบายและทิศทางการปฏิบัติราชการ%20

ศศิธร ตันติเอกรัตน์ และคณะ. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงในจังหวัดบุรีรัมย์ โดยใช้ทฤษฎี Precede Framework. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 15(1), 59 – 73.

เผยแพร่แล้ว

16-08-2023

How to Cite

เหมาะสมาน พ. ., & บุญเหลือ ณ. . (2023). การบริหารจัดการการให้บริการด้านกฎหมายความปลอดภัยในการทำงานแก่ประชาชน: กรณีศึกษาเฉพาะสานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 3. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 6(2), 292–319. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/RJPA/article/view/1838