การบริหารราชการแบบบูรณาการในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชียงคาน
คำสำคัญ:
การจัดการปกครอง, การบริหารราชการแบบบูรณาการ, การพัฒนาการท่องเที่ยว, เชียงคานบทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่อง “การบริหารราชการแบบบูรณาการ ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชียงคาน” ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการบริหารราชการแบบบูรณาการในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชียงคาน และ 2) ศึกษาผลกระทบที่เกิดจากการบริหารราชการแบบบูรณาการ ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชียงคาน โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ กับผู้ให้ข้อมูลสาคัญที่เป็นประชากรกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหาร ข้าราชการหน่วยงานภาครัฐ ผู้ประกอบการภาคเอกชน และภาคประชาชน จานวน 30 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และแบบสังเกต นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา โดยการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า แล้วสรุปผลการศึกษาด้วยเทคนิคเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า การบริหารราชการแบบบูรณาการในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชียงคาน ใช้รูปแบบการบริหารงานตามยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่พิเศษ มีการบูรณาการการทางานร่วมกันของส่วนราชการในระดับต่างๆ ตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และสถาบันการศึกษา มีองค์การบริหารพื้นที่พิเศษเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน อพท. (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานกลางในการประสานงานและบูรณาการการทางานร่วมกัน โดยนาเกณฑ์ของสภาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลกมาเป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวเชียงคาน ส่วนผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาการท่องเที่ยว ได้แก่ ปัญหาขยะและการจัดการขยะ ปัญหาการจราจรและที่จอดรถไม่เพียงพอ ปัญหาด้านมลภาวะทางอากาศและปัญหาน้าเสีย เป็นต้น
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559). รายงานวิสัยทัศน์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ.2559. ค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2564, จากhttps://secretary.mots.go.th/policy/more_news.php?cid=25
กรทิพย์ ศรีเมืองเมตตา. (2548). การบริหารงานแบบบูรณาการของผู้ว่าราชการจังหวัดภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ศึกษากรณีจังหวัดนครปฐม 2546-2548. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2562). สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยวเดือนธันวาคม 2562. ค้นเมื่อ 29 มกราคม 2565, จาก https://www.mots.go.th/download/article/article_20200123132729.pdf
กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564). สถานการณ์ด้านการท่อง เที่ยวเดือนพฤศจิกายน 2564. ค้นเมื่อ 29 มกราคม 2565, จาก https://www.mots.go.th/download/article/article
_20211228211425.pdf
บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และคณะ. (2559). การจัดการภาครัฐแนวใหม่. สถาบันพระปกเกล้า, ค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2564, จากhttp://wiki.kpi.ac.th/index.php?title
ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา. (2546). การพัฒนาระบบราชการไทย การพัฒนาองค์การและการสร้างองค์การที่เรียนรู้. วารสารสถาบันพระปกเกล้า การปฏิรูประบบบริหาร พัฒนาระบบราชการ 1(2).
ประกาศคณะกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เรื่อง กาหนดแนวเขตพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จังหวัดเลย. (2554). ราชกิจจานุเบกษา. 128(81 ง.)
พัชราภา ตันตราจิน. (2563). การจัดการปกครองแบบร่วมคิดร่วมทา (Collaborative Governance) : ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างและนาไปปฏิบัติ. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา 8(1).
มติชนออนไลน์. (2565). กมล คงปิ่น. พัฒนาเชียงคาน เมืองท่องเที่ยวยอดฮิตริมโขงในแบบเมือง 3 มรดก 1 เสน่ห์. ค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.matichon.co.th/city-changer/news_3361417
วิชิตร์ แสงทองล้วน. (2561). แนวทางการบูรณาการการทางานร่วมกันของหน่วยงานภาครัฐทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัด. รายงานการวิจัย. วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
วนิดา วิชยประเสริฐกุล. (2541). ผลกระทบจากการพัฒนาการท่องเที่ยวที่มีต่อสภาพแวดล้อมเมืองพัทยา. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิทวัส บูรณะ. (2548). ปัญหาของการบริหารงานแบบบูรณาการ : ศึกษากรณีอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ประเภทสปาในเขตอาเภอชะอาและหัวหิน. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วันใหม่ แตงแก้ว. (2554). การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเมืองเชียงคาน อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.). (2547). คู่มือเทคนิคและวิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ ตามแนวทางการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี “การบริหารราชการแบบบูรณาการ”. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.). (2560). การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม: เทคนิควิธีการและการนาไปสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อสารและสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สานักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ. (2558). วาระที่ 1 : การพัฒนาด้านการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : สานักการพิมพ์สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
สานักงานจังหวัดเลย. (2562). ข้อมูลพื้นฐาน: เชียงคาน. ค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2564, จาก https://ww2.loei.go.th/amphur_content/cate/3
สภาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนระดับโลก. (2019). เกณฑ์ GSTC สาหรับแหล่งท่องเที่ยว. ค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2564, จาก GSTC-Criteria-for-Destinations-2.0-Thai.pdf (gstcouncil.org)
Bouckaert, G. (1994). Governance between Legitimacy and Efficiency: Citizen Participation in the Belgian Fire Services. in J. Kooiman (Ed), Modern Governance: New Government-Society Interactions (pp. 146-167). London: Sage Publication.
The Global Sustainable Tourism Council. (2019). GSTC Destination Criteria (Version 2.0). Washington, ค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2564, จาก https://www.gstcouncil.org/wp-content/uploads/GSTC-Destination-Criteria-v2.0.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2025 พัทธนันท์ ตลาดทรัพย์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.