การตัดสินใจย้ายของข้าราชการ สายวิทยาการช่างอากาศ กองทัพอากาศ
คำสำคัญ:
การตัดสินใจย้ายของข้าราชการ, ข้าราชการสายวิทยาการช่างอากาศ, บุคลากรกองทัพอากาศบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจย้ายของข้าราชการ สายวิทยาการช่างอากาศ กองทัพอากาศ 2) เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจย้ายของข้าราชการ สายวิทยาการช่างอากาศ กองทัพอากาศที่มีสถานภาพส่วนบุคคลแตกต่างกัน โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ข้าราชการสายวิทยาการ กองทัพอากาศ จำนวน 358 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) ร้อยละ (percent) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ย (t-test) ทดสอบเอฟ (F-test) เมื่อพบนัยสำคัญทางสถิติจึงเปรียบเทียบรายคู่ด้วยการทดสอบของฟิชเชอร์ (LSD) ผลการวิจัยพบว่า การตัดสินใจย้ายของข้าราชการ สายวิทยาการช่างอากาศ กองทัพอากาศ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมาก จำนวน 4 ด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยได้แก่ ด้านภูมิลำเนา รองลงมาคือ ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ด้านครอบครัว และด้านความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน และอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 1 ด้าน ได้แก่ ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบการตัดสินใจย้ายของข้าราชการกองวิทยาการ กรมช่างอากาศ กองทัพอากาศ จำแนกตามเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ชั้นยศ และอายุราชการต่างกันส่งผลต่อการตัดสินใจย้ายของข้าราชการกองวิทยาการ กรมช่างอากาศ กองทัพอากาศ ไม่แตกต่างกัน
References
กรรณิการ์ เกตทอง. (2560). สาเหตุและแนวโน้มการลาออก/โอนย้าย ของข้าราชการในหน่วยงานวิชาการกรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.). การค้นคว้าอิสระรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ) สาขาวิชาบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ สําหรับนักบริหาร คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กองทัพอากาศ, กรมกำลังพลทหารอากาศ. (2565). การพัฒนาระบบการแยกประเภทกำลังพลของกองทัพอากาศ. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
ก้องนภา ถิ่นวัฒนากูล. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานเทศบาล จังหวัดสระแก้ว. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
กรมช่างอากาศ. (2566). ภารกิจและการบริหารจัดการในสายวิทยาการช่างอากาศ. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
กรมช่างอากาศ, แผนกบริหารกำลังพล. (2566). ผลกระทบจากการย้ายข้าราชการต่อการดำเนินงานของสายวิทยาการช่างอากาศ. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
คเณศ จุลสุคนธ์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างสัมพันธภาพระหว่างบุคคลและการเป็นสมาชิกกลุ่มไม่เป็นทางการกับประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงาน. วารสารวิจัย มทร., 25(6), 1-21.
เฉลิมเกียรติ พลอยพานิชเจริญ. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการโอนย้าย ของพนักงานส่วนท้องถิ่นในจังหวัดจันทบุรี. ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.
ชิดชนก ศรีรักษ์ และปัญญา ศรีสิงห์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการลาออกและโอนย้ายของข้าราชการกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. วารสารสมาคมนักวิจัย, 25(2), 308-322.
ณัฐินี เฟื่องฟูพาณิชย์. (2563). การสูญเสียข้าราชการส่วนท้องถิ่นให้กับราชการส่วนกลางและราชการส่วนภูมิภาค. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ) สาขาวิชาบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ สำหรับนักบริหาร คณะรัฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นุชนาฏ ตันตา. (2563). แรงจูงใจในการขอย้ายของข้าราชการสำนักการเจ้าหน้าที่สำนักงานศาลยุติธรรม. สารนิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสน ศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ, มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
สุพรรษา พุ่มพวง. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการลาออกของพนักงานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.
พิชญาภา จันทร์วุฒิวงศ์. (2562). สาเหตุและแนวโน้มการโอนย้ายของข้าราชการกรุงเทพมหานครกรณีศึกษา กลุ่มงานพิธีการ ส่วนบริหารกลาง สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ) สาขาวิชาบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ สำหรับนักบริหาร คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณัฐินี เฟื่องฟูพาณิชย์. (2563). การสูญเสียข้าราชการส่วนท้องถิ่นให้กับราชการส่วนกลางและราชการส่วนภูมิภาค. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ) สาขาวิชาบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ สำหรับนักบริหาร คณะรัฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พรพล สุวรรณทัต. (2560). สาเหตุที่ทำให้นักบินในส่วนของกองทัพอากาศตัดสินใจออกไปทำงานที่สายการบินพาณิชย์. สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล.
นภาเพ็ญ โหมาศวิน. (2533). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันของสมาชิกในองค์การ : ศึกษาเฉพาะกรณี สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นันทพร ทองลิ้ม. (2563). ผลกระทบของสัมพันธภาพในที่ทำงานและความไม่มั่นคงในงานต่อความตั้งใจลาออกจากงาน ผ่านความสุขในการทำงาน. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วรรณพรรณ รักษ์ชน. (2555). แนวคิดและทฤษฎี Frederick Herzberg. สืบค้นวันที่ 17 ธันวาคม 2567 จาก https://applerakchon.blogspot.com/2012/10/9-frederick-herzberg
มณฑา เรืองขจร. (2556). การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์และความไว้วางใจที่พยากรณ์สัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพนักงาน. วิทยานิพนธ์ศิลปะ ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
Best, J.W. (1981). Research in Education. New Jersey : Prentice – Hall.
Maslow, A. H. (1970). Motivation and Personality. New York : Harpers and Row.
Yamane, T. (1967). Statistics: an introductory analysis. New York : Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2025 สิฏฐาพร สว่างเนตร

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.