ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของนักการเมือง ตำบลแหลมบัว อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

ผู้แต่ง

  • วัชรชัย นาคละมัย วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • ไวพจน์ กุลาชัย วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

ภาพลักษณ์, นักการเมือง, จังหวัดนครปฐม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับปัจจัยด้านหลักธรรมมา   ภิบาล ปัจจัยด้านการบริหารงาน ปัจจัยด้านทักษะการสื่อสาร และปัจจัยด้านความรู้ความสามารถของนักการเมือง ตำบลแหลมบัว อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม    2) ระดับภาพลักษณ์ของนักการเมือง ตำบลแหลมบัว อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 3) การวิจัยเชิงปริมาณนี้ศึกษาปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาล การบริหารงาน ทักษะการสื่อสาร และความรู้ความสามารถที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของนักการเมืองตำบลแหลมบัว กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้นำชุมชน อสม. กลุ่มสตรี กลุ่มผู้สูงอายุ และประชาชนจาก8 หมู่บ้าน รวม 380 คน ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแปรปรวน  ผลการวิจัยพบว่าปัจจัย

ทั้งสี่มีผลต่อภาพลักษณ์ของนักการเมืองในพื้นที่ 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 237 คน ช่วงอายุอยู่ระหว่าง 18 ถึง 66 ปีสถานภาพทางครอบครัวส่วนใหญ่สมรสมีบุตรแล้ว ระดับการศึกษาส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาโทหรือสูงกว่า สถานภาพการทำงานส่วนใหญ่เป็นบุคคลทั่วไป มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่น้อยกว่า 1 ปี จนถึง 30 ปี 2) ปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาลอยู่ในระดับมาก โดยเน้นความโปร่งใส นิติธรรม ความเสมอภาคการมีส่วนร่วม คุณธรรม และการใช้จ่ายงบประมาณอย่างคุ้มค่าเพื่อประโยชน์สูงสุด 3) ปัจจัยด้านการบริหารงานอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเน้นการจัดสรรงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4) ปัจจัยด้านทักษะการสื่อสาร มีความคิดเห็นในภาพรวมทั้งหมดอยู่ในระดับมาก โดยจะเน้นไปที่เรื่องนายกมีรูปแบบการสื่อสารที่ดี ประชาชนในท้องถิ่นเข้าใจข้อมูลได้อย่างชัดเจนและถูกต้อง 5) ปัจจัยด้านความรู้ ความสามารถมีความคิดเห็นในภาพรวมทั้งหมดอยู่ในระดับมาก โดยจะเน้นไปที่เรื่องนายกฯ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ 6) ปัจจัยด้านภาพลักษณ์ของนักการเมืองอยู่ในระดับมาก โดยเน้นความสามารถในการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมบัว 7) การวิเคราะห์พบว่าปัจจัยด้านทักษะการสื่อสารการบริหารงาน และหลักธรรมาภิบาลส่งผลต่อภาพลักษณ์ของนักการเมืองตำบลแหลมบัว คิดเป็น 100% โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p ≤ 0.001

 

References

กิตติพงษ์ แซ่ลิ่ม. (2018). บทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบลในการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษา อบต. ในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารการปกครองท้องถิ่น, 12(3), 45-60.

ติยานนท์ แสงบุตร. (2563). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ทวีวัฒน์ อินทรประเสริฐ. (2559). การปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

ธนบัตร อัษฎมงคลพันธ์, ทัศนีย์ ลักขณาภิชนชัช, กมลพร กัลยาณมิตร, และ สถิตย์ นิยมญาติ. (2022). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาพลักษณ์ของพรรคการเมืองไทยที่พึงประสงค์. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 8(2), 154-174.

นงลักษณ์ ทวีรักษา. (2566). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลอำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 6(1), 9-24.

นวพล คตสุข. (2555). รายงานวิจัย เรื่อง ภาพลักษณ์ของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในทัศนะของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ = Executive images of local administrative organization regarding resident's opinion in Muang district, Uttaradit province. อุตรดิตถ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

นิเวศน์ วงศ์สุวรรณ และ อินถา ศิริวรรณ (2017). การบริหารแบบมีส่วนร่วม. Mahachula Academic Journal, 4(1), 176-187.

นพดล นิ่มสุวรรณ และ สุเมธ พรหมอินทร์ (2021). การพัฒนาทักษะด้านความร่วมมือการทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ ข้ามวัฒนธรรมของเยาวชนในตำบลปากรอ จังหวัดสงขลา. Journal of Buddhist Anthropology, 6(8), 73-86.

บุญชม ศรีสะอาด. (2559). แก่นคติแนวคิดเสริมสร้างพลัง. มหาสารคาม: ตักศิลาการพิมพ์.

บุญธิดา แก้วทอง, วรกฤต เถื่อนช้าง และวินัย ทองมั่น. (2022). แนวทางการเสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์ของบุคลากรตาม หลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนประถมศึกษา อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิจัยวิชาการ, 5(3), 131-146.

พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2021). ผู้บริหารกับการทำงานเป็นทีม. Education journal Faculty of Education, Nakhon Sawan Rajabhat University, 4(1), 1-7.

ภูดิศ นอขุนทด. (2022). หลักธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 7(1), 1029-1044.

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542. (2542). ราชกิจจานุเบกษา, 116(63 ง), 24-25.

รัตนาภรณ์ แววกระโทก. (2552). ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการทำงานเป็นทีม. ค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2568, จาก http://www.gotoknow.org/posts

เรณู รื่นรมย์. (2564). ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อภาพลักษณ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลวังหว้า อำเภอแกลง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.

วรัญญา รักษาแก้ว, อรยา ปู่ฝ้าย, เกษมสันต์ ภิรมย์ราช, สาวิตรี เรียบทวี, และบุญชัย เนาว์ศรีสรณ์ (2024). วารสารการบริหาร การจัดการ และการพัฒนาที่ยั่งยืน, 2(1), 1-16.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579). กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

สิงห์ สิงห์ขจร. (2560). การสื่อสารเพื่อสร้างความนิยมของผู้นำทางการเมืองท้องถิ่น. ดุษฎีนิพนธ์นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สรรพสิทธิ์ ชมพูนุช และกัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์. (2021). การทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: เงื่อนไขและการป้องกัน. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(10), 423-440.

ศิริรักษ์ บุญพร้อมรักษา, คมสันต์ ธีระพืช, & วิชุดา จันทร์เวโรจน์. (2564). บทบาทของผู้นำยุคใหม่ที่มีผลต่อการจัดการองค์การบนฐานวิถีชีวิตใหม่. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 23(2), 258-266.

อภิพัฒน์ สมพงษ์ และคณะ. (2565). คุณลักษณะของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลที่พึงประสงค์ของประชาชน ตำบลสำโรงตาเจ็น อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 7(3), 1109-1121.

อังคนา พิมพ์ดี. (2559). การปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

Albuquerque, U. (2015). Efficient Oral Communication. DOI:10.1007/978-3-319-06517-5_3

Ballow, J., Gilson, M., & Odiorne, G. (1962). Management by objectives. Journal of Business Research, 10(3), 123-135.

Barrett, L. (2000). Emotional Intelligence: Its Role in Achieving Effectiveness in the Workplace. Leeds, United Kingdom: Emerald Publishing.

Bisel, R., and Rush, K. (2021). Communication in Organizations. New York: Oxford University Press.

Bloom, B. (1956). Taxonomy of Educational Objectives. London: Longman.

Carnegie, D. (1995). How to Win Friends and Influence People. New York: Simon & Schuster.

Côté, Stéphane. (2014). Emotional intelligence in organizations. Annual Review of Organizational Behavior, 1(1), 459-488.

Davis, M. (2005). Knowledge and competence: Conceptualization, dimensions, and performance implications. Hoboken, NJ: Blackwell.

Eraut, Michael. (2004). Informal learning in the workplace. Studies in continuing education, 26(2), 247-273.

Hambrick, D., Pink, J., Meinz, E., Pettibone, J., and Oswald, F. (2008). The roles of ability, personality, and interests in acquiring current events knowledge: A longitudinal study. Intelligence, 36, 261-278.

Kalpana, Thakur. (2014). A constructivist perspective on teaching and learning: A conceptual framework. International Research Journal of Social Sciences, 3(1), 27-29.

Mason, T., and Bawden, D. (2023). Times new plural: The multiple temporalities of contemporary life and the infosphere. Journal of the Association for Information Science and Technology, 74, 1159 - 1169.

Moshtari, M. (2016). Inter‐Organizational Fit, Relationship Management Capability, and Collaborative Performance within a Humanitarian Setting. Production and Operations Management, 25, 1542 - 1557.

Mulder, M. (2012). Work and learning: Critical issues in the sociology of education. New York: Springer.

Mulder, M. (2017). Competence-based Vocational and Professional Education. New York: Springer.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.

Rogers, E. M. (1976). Communication strategies for adoption of innovations. Journal of Communication, 26(4), 71-85.

Schmidt, H. (2013). Learning from Experience: The Role of Reflection in Developing Competencies. Journal of Educational Psychology, 105(3), 755-766.

Schramm, W. (1973). The process and effects of mass communication. Champaign, IL: University of Illinois Press.

Timm, I. (1995). The virtual community: Homesteading on the electronic frontier. Reading, MA: Addison-Wesley.

Tynjala, P. (2008). Perspectives into Learning at the Workplace. Educational Research Review, 3(2), 181-193.

Winterton, J. (2017). Competence-based vocational and professional education . M. Mulder (Ed.). New York: Springer.

Yamane, T. (1967). Elementary sampling theory. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

เผยแพร่แล้ว

20-04-2025

How to Cite

นาคละมัย ว., & กุลาชัย ไ. . (2025). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของนักการเมือง ตำบลแหลมบัว อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 8(1), 654–702. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/RJPA/article/view/1388