ความยุติธรรมทางด้านสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษา โครงการบ่อขยะทองคำ ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

ผู้แต่ง

  • ชนิสรา ทิมทอง นิสิตภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศวร
  • วัชรพล ศุภจักรวัฒนา ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

ความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม, นโยบายสิ่งแวดล้อม, บ่อขยะพิษณุโลก

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประเมินความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อมกรณีการบริหารจัดการขยะบ่อขยะทองคำ เทศบาลตำบลหัวรอ จังหวัดพิษณุโลก โดยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการบริหารจัดการขยะจำนวน 10 ตัวอย่าง ผ่านการตีความเชิงพรรณนา

ผลการศึกษาพบว่า โครงการฯ ไม่ได้ดำเนินงานบนฐานความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม ทั้งสามมิติ คือ หนึ่งการกระจายความยุติธรรมที่ทางรัฐไม่สนใจผลกระทบเชิงลบที่จะเกิดขึ้น สองความยุติธรรมเชิงกระบวนการ การเปิดช่องทางการมีส่วนร่วมไม่ได้สร้างการส่วนร่วมที่แท้จริง สามการตระหนักรู้ความยุติธรรม รัฐไม่คำนึงถึงสิทธิของการมีอยู่ของชุมชนที่ตั้งอยู่เดิมแทบทุกมิติ เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น รัฐต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ อย่างเป็นระบบอยู่บนพื้นฐานความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม อันจะนำไปสู่การดำเนินการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบอย่างตรงพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลกระทบอย่างจริงจัง  อีกทั้งผู้มีอำนาจที่เกี่ยวข้องจะต้องสร้างบทบัญญัติคุ้มครองการลงโทษผู้ได้รับผลกระทบให้ชัดเจน

References

กรณัฏฐ์ อัครธนบูลย์. (2564). “การป้องกันปัญหาอาชญากรรมสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด”. วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ 7(1):39–54.

กรมควบคุมมลพิษ. (2556). “ข้อมูลสถานการณ์ขยะมูลฝอยของภูมิภาค ภาคกลาง ปี พ.ศ. 2556 ”. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 22, 2567, จาก https://thaimsw.pcd.go.th/report_region.php?year=2556&geography=.

กรมควบคุมมลพิษ. (2563). “ข้อมูลสถานการณ์ขยะมูลฝอยในกรุงเทพฯ”. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 7, 2567, จากhttps://thaimsw.pcd.go.th/report1.php?year=2563.

กรมควบคุมมลพิษ. (2566ก). “ข้อมูลสถานการณ์ขยะมูลฝอยในจังหวัดพิษณุโลก”. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 19, 2567, จาก https://thaimsw.pcd.go.th/report1.php?year=2566.

กรมควบคุมมลพิษ. (2566ข). รายงานสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย ปี พ.ศ.2565. กรุงเทพฯ.

กองจัดการกากของเสียและสารอันตราย. (2565). “รายงานสถานการณ์สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2565 ”. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 22, 2567, จาก https://www.pcd.go.th/wp-content/uploads/2023/04/pcdnew-2023-04-11_03-13-24_292638.pdf.

จิฑาวัฒน์ ประสงค์กุล. (2558). “การเยียวยาผู้เสียหายในคดีสิ่งแวดล้อม:ศึกษากรณีมลพิษจากน้ำมัน”. วารสารบัณฑิตศึกษา:มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 8(2.1):223–34.

ชัยณรงค์ เครือนวน, และ พิมพ์ประไพ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. (2561). “ข้อเสนอการพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกในมุมมองของภาคประชาชนบทสังเคราะห์เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษตะวันออกให้เกิดความยุติธรรมทางสังคม”. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา 6(1):41–62.

เดือนเด่น นาคสีหราช. (2554). “หลักความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อมกับข้อเสนอเพื่อชดเชย : กรณีผันน้ำเนื่องจากอุทกภัยในประเทศไทย”. วารสารนิติศาสตร์ 2(1):189–200.

มติชนออนไลน์. (2550). “ชาวพนมฯสุดทนกลิ่นเหม็นขยะ ขนม็อบสองร้อยบุกร้องผู้ว่าฯแปดริ้ว”. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 7, 2567, จาก https://mgronline.com/local/detail/9500000048274.

มติชนออนไลน์. (2562ก). “ชาวหัวรอเปิดบันทึกจับพิรุธบ่อขยะบ่อทองคำตั้งข้อสงสัยส่อปกปิดข้อมูล-เอื้อเอกชน-ทำผิดแบบ”. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 5, 2567, จาก https://mgronline.com/local/detail/9620000017336.

มติชนออนไลน์. (2562ข). “เป็นเรื่องชาวหัวรอร้องศาลปกครอง ฟ้องนายกเล็ก-เทศบาลฯ เปิดบ่อขยะมิชอบ-ส่อลักไก่ขุดบ่อฝังกลบ”. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน 24, 2567, จาก https://mgronline.com/local/detail/9620000015172.

รัชศิริ ประดิษฐ์กุล, และ คนางค์ คันธมธุรพจน์. (2562). “กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาโครงการประเภทคมนาคม”. Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) 12(2):1046–56.

วัชรี บุญวิทยา, และ กังสดาล เชาว์วัฒนกุล. (2565). “ความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อมของชุมชนใกล้กองขยะชานเมือง”. วารสารมหาจุฬานครทรรศน์ 9(4):326–40.

วิยาดา กันยาลัง. (2561). “มาตรการทางกฎหมายในการชดเชยและเยียวยาความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมโดยกองทุนสิ่งแวดล้อม”. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิศณุกร แทนรินทร์, และ ปรมาภรณ์ วีระพันธ์. (2567). “ปัญหาทางกฎหมายของมาตรการชดเชยและเยียวยยาความเสียหายในคดีบุกรุกพื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 15(1):284–307.

ศักดิ์ณรงค์ มงคล. (2557). “ข้อความคิดว่าด้วยความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อมที่เป็นฐานคิดด้านสิทธิชุมชน”. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมชาย เพชรอำไพ, และ สุทรรศน์ สิทธิศักดิ์. (2563). “รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดพิษณุโลก”. วารสารวิชาการกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 16(2):57.

Agyeman, J., Bullard, R. D., and Evans,B. (2002). “Exploring the nexus: Bringing together sustainability, environmental justice and equity”. Space and Polity 6(1):77–90.

Agyeman, J., Bullard, R. D., and Evans,B. (2016). Just Sustainabilities: Development in an unequal world. London, England: Earthscan.

Bullard, R. D. (1994). Unequal protection: Environmental justice and communities of color. San Francisco, CA: Sierra Club Books.

Bullard, R. D. (2001). “Environmental justice in the 21st century: Race still matters”. Phylon 49(3/4):151–71.

Fischer, F. (2000). Citizens, Experts, and the Environment: The Politics of Local Knowledge. Durham: Duke University Press.

Harrison, J. L., and London, J. K. (2024). The environmental justice challenge in the 21st century: New frontiers and frameworks. New York, NY: Oxford University Press.

Holifield, R. (2012). “Environmental Justice as Recognition and Participation in Risk Assessment: Negotiating and Translating Health Risk at a Superfund Site in Indian Country”. Annals of the Association of American Geographers 102(3):591–613.

Mears, D. ,. et al. (2019). “Community participation in environmental decision-making: Barriers and best practices”. Environmental Sociology 5(3):178–92.

Menton, M. ,. et al. (2020). “Indigenous knowledge and environmental justice: Lessons from Amazonia”. Journal of Environmental Management 271:110–867.

Pellow, D. N. (2000). “Environmental inequality formation: Toward a theory of environmental injustice”. American Behavioral Scientist 43(4):581–601.

Rocket Media Lab. (2022). “ขยะของคน กทม. ที่ถูกนำไปทิ้งที่บ้านคนอื่น”. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 7, 2567, จาก https://rocketmedialab.co/bkk-waste/.

Schlosberg, D. (2007). Defining environmental justice: Theories, movements, and nature. New York, NY: Oxford University Press.

Schlosberg, D. (2012). “Justice, ecological integrity, and climate change. In J. Dryzek, R. B. Norgaard, & D. Schlosberg (Eds.)”. pp. 157–170 . The Oxford handbook of climate change and society . Oxford, England: Oxford University Press.

Smith-Carvos, E. M. (2008). “Environmental justice for low-income neighborhoods”. pp. 841 . CAHSS Faculty Presentations, Proceedings, Lectures, and Symposia.

Swyngedouw, E. (2007). “Impossible ‘sustainability’ and the postpolitical condition”. pp. 13–40 . In R. Krueger & D. Gibbs (Eds.), The sustainable development paradox: Urban political economy in the United States and Europe . Guilford Press.

Thai PBS. (2556). “มติชาวบ้านอ.บางระกำ จ.พิษณุโลก ไม่รับขยะจากอปท. หลังเผชิญกลิ่นเหม็นนานเกือบ 20 ปี”. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 5, 2567, จาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/195244.

Thai PBS. (2567). “ขยะล้นเมือง คนไทยสร้างขยะเฉลี่ย 7.3 หมื่นตัน/วัน ”. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 22, 2567, จากhttps://www.thaipbs.or.th/news/content/340722.

Wilson, S. M. (2009). “An ecological framework to study and address environmental justice and community health issues”. Environmental Justice 2(1):15–24.

เผยแพร่แล้ว

12-12-2024

How to Cite

ทิมทอง ช., & ศุภจักรวัฒนา ว. . (2024). ความยุติธรรมทางด้านสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษา โครงการบ่อขยะทองคำ ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 7(3), 250–280. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/RJPA/article/view/1160