การจัดกลุ่มคำเรียกชื่อโรคในภาษาเขมร

Main Article Content

อรวรรณ บุญยฤทธิ์
ชัยวัฒน์ เสาทอง

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์คำเรียกชื่อโรคที่เกิดกับคนในภาษาเขมร โดยรวบรวมข้อมูลจากพจนานุกรมเขมร ศัพทานุกรมการแพทย์ของเขมร และสื่อสารสนเทศ แล้วนำมาจัดกลุ่มตามกลวิธีการสร้างคำและองค์ประกอบทางความหมาย ผลศึกษาพบว่าคำเรียกชื่อโรคในภาษาเขมร มักมีคำว่า ជំងឺ โรค หรือ រោគ โรค นำหน้า สามารถจัดแบ่งกลุ่มได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ 1) คำเรียกชื่อโรคที่ระบุชื่ออวัยวะที่เป็นโรค 2) คำเรียกชื่อโรคที่มีโครงสร้างเป็น ជំងឺ โรค + คำแสดงอาการของโรค + ชื่ออวัยวะที่เป็นโรค 3) คำเรียกชื่อโรคที่ระบุชื่อโรคเฉพาะซึ่งมีการแบ่งประเภทย่อยเป็นคำเรียกชื่อโรคที่ระบุชื่อโรคเฉพาะตามด้วยส่วนขยายบอกลักษณะ และคำเรียกชื่อโรคที่ระบุชื่อโรคเฉพาะมีคำขยายบอกชื่ออวัยวะที่เป็นโรค และการแบ่งตามที่มาของภาษา

Article Details

How to Cite
บุญยฤทธิ์ อ., & เสาทอง ช. (2024). การจัดกลุ่มคำเรียกชื่อโรคในภาษาเขมร. ภาษา-จารึก, 1(1), 75–106. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/PCJ/article/view/656
บท
บทความวิจัย

References

คณะกรรมการทุนพระยาอนุมานราชธน. (2517). พจนานุกรมเขมร-ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน เล่ม 1. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาสน์การพิมพ์.

คณะกรรมการทุนพระยาอนุมานราชธน. (2521). พจนานุกรมเขมร-ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน เล่ม 2. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาสน์การพิมพ์.

คณะกรรมการทุนพระยาอนุมานราชธน. (2523). พจนานุกรมเขมร-ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน เล่ม 3. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาสน์การพิมพ์.

คณะกรรมการทุนพระยาอนุมานราชธน. (2526). พจนานุกรมเขมร-ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน เล่ม 4. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาสน์การพิมพ์.

คณะกรรมการทุนพระยาอนุมานราชธน. (2528). พจนานุกรมเขมร-ไทย ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน เล่ม 5. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาสน์การพิมพ์.

คณะอนุกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย. (2551). “พจนานุกรมศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย (6).” วารสารการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก 6, 3 (กันยายน-ธันวาคม): 364-376.

ชะเอม แก้วคล้าย. (2528). จารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ 7. กรุงเทพฯ: หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร.

ทรงธรรม ปาณสกุณ. (2554) “การศึกษาชื่อสถานที่ในอาณาจักรเขมร.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเขมร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ภีม เอี่ยมประไพ และคณะ. (มมป.) คู่มือสนทนาภาษาอาเซียนสำหรับบุคลากรทางการแพทย์: ภาษาหมอและยาอาเซียน ฉบับภาษาเขมร. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. [โปรแกรมประยุกต์] กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

วาสินี มีเครือเอี่ยม, วิไลศักดิ์ กิ่งคำ และเมธาวี ยุทธพงษ์ธาดา. (2559) “คำเรียกชื่อโรคในระบบการแพทย์พื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์.” รมยสาร (คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์) 14, 1 (มกราคม-เมษายน): 31-42.

สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. (2557). คู่มือการใช้ภาษาไทย – อังกฤษ – พม่า – เขมร สำหรับบุคลากรสาธารณสุข ในการให้บริการสุขภาพแก่ประชากรต่างด้าว. นนทบุรี สำนักบริหารการสาธารณสุข.

อรวรรณ บุญยฤทธิ์. (2562ก). ระบบเสียงและไวยากรณ์ภาษาไทยและภาษาเขมร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อรวรรณ บุญยฤทธิ์. (2562ข). รายงานการวิจัยเรื่อง ลักษณะภาษาของชื่อตัวละครในนวนิยายเขมร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อลิสา คุ่มเคี่ยม (2564). “ศึกษาการตั้งชื่อโรคในภาษาไทญ้อ: ตำบลท่าคล้อ อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี.” วารสารฟ้าเหนือ 12, 1 (มกราคม-มิถุนายน): 71-88.

ក្រុមប្រឹក្សាជាតិភាសាខ្មែរ គណៈកម្មការសុខាភិបាល. (2019). សព្ទានុក្រមវេជ្ជសាស្ដ្រខ្មែរ-អង់គ្លេស-បារាំង. ភ្នំពេញ: ក្រុមប្រឹក្សាជាតិភាសាខ្មែរ គណៈកម្មការសុខាភិបាល.

ជួន ណាត. (2016). វចនានុក្រមសម្ដេចសង្ឃជួនណាត. [កម្មវិធីអេឡិចត្រូនិច]. ភ្នំពេញ: ក្រសួងសេដ្ឋកិច្ចនិងហិរញ្ញាវត្ថុ សាកលវិទ្យាល័យភូមិន្ទភ្នំពេញ អគ្គិសនីកម្ពុជា.

ពុទ្ធសាសនបណ្ឌិត្យ. (1967). វចនានុក្រមខ្មែរ. បោះពុម្ពគ្រាទី 5. ភ្នំពេញ: ពុទ្ធសាសនបណ្ឌិត្យ.

ពុទ្ធសាសនបណ្ឌិត្យ. (1974). ប្រជុំរឿងព្រេងខ្មែរ ភាគទី ៩. ភ្នំពេញ: ពុទ្ធសាសនបណ្ឌិត្យ.

Headley, Robert K. (1977). Cambodian-English Dictionary. Washington D.C.: The Catholic University of American Press.

Long Seam. (2007). “Les toponymes en khmer ancient.” Aséanie, Sciences humaines en Asie du Sud-Est 19: 15-74.

Pauline Dy Phon. (2000). វចនានុក្រមរុក្ខជាតិប្រើប្រាស់ក្នុងប្រទេសកម្ពុជា. Phnom Penh: ឌីផុន Imprimerie.

Saveros Pou. (1992). Dictionnaire Vieux Khmer-Français-Anglais. Paris: Cedoreck.

ธิติ เชาวนลิขิต ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลเลิดสิน. สัมภาษณ์ 12 กุมภาพันธ์ 2566.

อุเทน วงศ์สถิตย์ อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. สัมภาษณ์ 25 พฤษภาคม 2566.

“ปักขันทิกาพาธ” พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (2566). เข้าถึงเมื่อ 8 มกราคม. เข้าถึงได้จาก https://84000.org/tipitaka/dic/index_dd.php

โรคคาวาซากิ. (2566). เข้าถึงเมื่อ 10 มกราคม. เข้าถึงได้จาก https://www.google.com/searchโรคคาวาซากิที่มา

ไข้เลือดออก. (2566). เข้าถึงเมื่อ 23 กุมภาพันธ์. เข้าถึงได้จาก https://www.pobpad.com/ไข้เลือดออก

โรคดีซ่าน. (2565). เข้าถึงเมื่อ 15 ธันวาคม. เข้าถึงได้จาก https://www.pobpad.com/search?s=โรคดีซ่าน

โรคมือเท้าปาก. (2565). เข้าถึงเมื่อ 15 ธันวาคม. เข้าถึงได้จาก https://www.pobpad.com/โรคมือเท้าปาก

โรคปัจจุบัน. (2565). เข้าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม. เข้าถึงได้จาก https://www.doctor.or.th/article/ detail/5275#โรคปัจจุบัน

ពងបែកដៃ ជើង មាត់. (2565). เข้าถึงเมื่อ 15 ธันวาคม. เข้าถึงได้จาก https://healthtime.tips/km/library/article/1803សញ្ញាណនៃជំងឺពងបែកដៃជើងមាត់លើកុមារ

prameha. (2566). เข้าถึงเมื่อ 8 มกราคม. เข้าถึงได้จาก https://www.wisdomlib.org/definition/prameha