“อารยปัญญาจีน”: ขุมทรัพย์แห่งจีนศึกษาและภูมิปัญญาโบราณ

Main Article Content

ปานชีวา บุตราช

บทคัดย่อ

“อารยปัญญาจีน” ประพันธ์โดยหวังชงหลีว์ แปลจากหนังสือภาษาจีนเรื่อง 《国粹:人文传承书》 โดยสองนักแปลเจ้าของรางวัลสุรินทราชา คือชาญ ธนประกอบ ในส่วนของบทกวีแปลโดย รศ.ดร.กนกพร นุ่มทอง บรรณาธิการเล่ม หนังสือฉบับพากย์ภาษาไทยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ชวนอ่าน (2566) หนังสือเล่มนี้มีความสำคัญคือได้รับคัดเลือกให้เป็นหนังสือดีของจีนประจำปี 2017 เนื้อหาประกอบด้วยบทนำ การสืบสาน : ความเชื่อมั่นต่อวัฒนธรรม (บทที่ 1) และเนื้อหาอีก 4 บรรพ โดยเริ่มจากบรรพชน : ชีพจรแห่งชีวิต (บทที่ 2-13), มนุษยศาสตร์ : สัญลักษณ์ชีวิต, (บทที่ 14-21) ขุนเขาลำน้ำ : ดินแดนแห่งอารยะ (บทที่ 22-27) และสิ่งสืบทอด : ภูมิปัญญาแห่งชีวิต (บทที่ 28-35) แต่ละบรรพเกี่ยวข้องสัมพันธ์ ร้อยเรียงต่อเนื่องภายใต้มุมมองด้านประวัติศาสตร์จีนระหว่างการเดินทางเยือนสถานที่ต่าง ๆ รวมทั้งสิ้น 35 บท

Article Details

How to Cite
บุตราช ป. (2024). “อารยปัญญาจีน”: ขุมทรัพย์แห่งจีนศึกษาและภูมิปัญญาโบราณ. ภาษา-จารึก, 1(1), 269–279. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/PCJ/article/view/600
บท
บทความปริทัศน์วรรณกรรม

References

โชติช่วง นาดอน. (2521). คัมภีร์เต๋า เต็ก เก็ง. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.

นิตยา (พลพิพัฒนพงศ์) ชวี. (2542). วัฒนธรรมจีน. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.

ศริญญา อรุณขจรศักดิ์. (2565). มัจฉา ปักษี ผีเสื้อ อุปลักษณ์สัตว์และการผดุงชีวิตในปรัชญาของจวงจื่อ. กรุงเทพฯ: ILLUMINATIONS.

สุวรรณา สถาอานันท์. (2562). หลุนอี่ว์: ขงจื่อสนทนา. กรุงเทพฯ: โอเพ่น โซไซตี้.

หวังชงหลีว์. (2566). อารยปัญญาจีน. แปลโดย ชาญ ธนประกอบ. กรุงเทพฯ: ชวนอ่าน.

The Pennsylvania State University. (2024). Chinese Culture, Tradition, and Customs. Accessed March 1. Available.from http://elements.science.psu.edu/psu-pku/student-resources/resources-for-penn-state- students/chinese-culture-tradition-and-customs

Wang Chonglu 王充闾. (2024). Sheng sheng zhi wei yi: Zhouyi de san Zhong ’Ao yi 生生之谓易:《周易》的三重奥义. Accessed March 1. Available from http://www.guoxue.com/?p=31321