การบริหารทรัพยากรบุคคลตามหลักพุทธธรรมในสถานศึกษายุคดิจิทัล

Main Article Content

ธีรทัศน์ ปิติภาคย์พงษ์

บทคัดย่อ

บทความนี้จะนำเสนอการบริหารทรัพยากรบุคคลตามหลักพุทธธรรมในสถานศึกษายุคดิจิทัลเป็นการบริหารทรัพยากรบุคคลเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในยุคของการขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โดยเฉพาะการบริหารทรัพยากรบุคคลในสถานศึกษาต้องใช้ศาสตร์และศิลปะในการบริหารสถานศึกษาสามารถบูรณาการกับหลักพุทธธรรม คือ หลักพรหมวิหารธรรม ประกอบด้วย 1) เป็นผู้มีจิตใจเผื่อแผ่ (เมตตา) ผู้บริหารต้องมีพฤติกรรมมีความหวังดีต่อครู หรือผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน เพื่อให้ผู้อื่นมีความสุขมีจิตใจแผ่ไมตรีจิต 2) เป็นผู้มีความหวังดี (กรุณา) ผู้บริหารต้องมีพฤติกรรมหวังดีกับผู้อื่นหรือครูหรือผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน 3) เป็นผู้มีความยินดี (มุทิตา) ผู้บริหารต้องมีความยินดี มีจิตผ่องใสบันเทิงพลอยยินดีด้วย เมื่อเขามีความเจริญด้วยความรู้ความสามารถ เจริญด้วย ลาภ ยศ และชื่อเสียงพลอยชื่นชมยินดีตาม และ 4) เป็นผู้มีการวางตนเป็นกลาง (อุเบกขา) มีการวางตนเป็นกลาง มีความวางเฉย เมื่อมีผู้ประพฤติดีก็ต้องยกย่อง สรรเสริญคุณงามความดี ซึ่งบทความนี้จะเป็นประโยชน์แก่ 1) ผู้บริหารเพื่อได้แนวคิดในการนำหลักพุทธธรรมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานบุคคล 2) บุคลากรเพื่อเข้าใจถึงความสำคัญของหลักพุทธธรรมในการสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี 3) นักศึกษาเพื่อได้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลในยุคดิจิทัลและการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมในทางปฏิบัติ

Article Details

How to Cite
ปิติภาคย์พงษ์ ธ. . (2024). การบริหารทรัพยากรบุคคลตามหลักพุทธธรรมในสถานศึกษายุคดิจิทัล. วารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์, 2(3), 38–51. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/JEAHS/article/view/1275
บท
บทความวิชาการ

References

กัลยา นาคลังกา. (2561). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการของสหกรณ์เคหสถานชุมชนริมคลองลาดพร้าว. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. 9(2). 121-133.

จินต์จุฑา จันทร์ประสิทธิ์. (2559). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบุคลากรทางการศึกษา. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร์.

เจตนิพิฐ บุญเพศ. (2554). การศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชาญชัย อาจิณสมาจาร. (2550). การบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพมหานคร.

ดุลชิตร์ มงคล. (2566). การบริหารแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. วารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์. 4(1). 90-91.

ไตรรัตน์ ยืนยง. (2563). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. ตาก: ศูนย์การพิมพ์นอร์ทเทิร์น.

นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2546). หลักการบริหารการศึกษา. ฉะเชิงเทรา: สถาบันราชภัฏราชนครินทร์.

ปรียาพร วงศ์ธนุตรโรจน์. (2553) จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพมหานคร.

พระเทพปริยัติเมธี (สฤษฏิ์ สิริธโร). (2553). ภาวะผู้นำเชิงพุทธกับการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหารักศักดิ์ ปญฺญาวุฑฺโฒ (บุญชัย) และคณะ. (2566). ภาวะผู้นำวิถีพุทธสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. วารสารมณีเชษฐารามวัดจอมมณี. (5). 498-510.

ภัคภพ์ไผทท์ ภคสกุลวงศ์ และคณะ. (2567). การบริหารงานบุคคลตามหลักพุทธธรรมาภิบาลในยุคดิจิทัล. วารสารมหาจุฬาวิชาการ. 8(2). 138.

ยุพิณ ศาลางาม. (2560). แนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนธนบุรีวรเทพีพลารักษ์. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา. 12(3). 284-298.

วิโรจน สารรัตนะ. (2551). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21.กรุงเทพมหานคร: ทิพยวิสุทธิ์.

สงบ อินทรมณี. (2562). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น. 16(1). 353-359.

สุภัทรศักดิ์ คำสามารถ, ศิรินทิพย์ กุลจิตรตรี และโกวิท จันทะปาละ. (2563). แนวทางการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลดิสรัปชั่น. Journal of Modern Learning Development. 5(3). 245-258.

สุรพงษ์ มาลี. (2562). ความท้าทายของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภูมิภาคอาเซียน. วารสารข้าราชการ. 61(1). 16-21.

สุวิน สุขสมกิจ. (2549). พุทธปรัชญากับการสร้างเสริมภาวะผู้นำ : ศึกษาเฉพาะกรณีผู้นำระดับกำนันผู้ใหญ่บ้านในจังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โสมวลี ชยามฤต. (2564). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับยุคดิจิทัลขององค์การภาครัฐและเอกชน. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 4(1). 38-50.

Sukanya Chaemchoy. (2015). Technology Leadership: Leading Technology Into 21st CenturySchool. Journal of Education Naresuan University. 17(4). 216-224.

Techsauce. (2563). ถึงเวลา HR ต้อง Transform สู่ Digital HR "โอกาส" นำองค์กรประสบผลสำเร็จยุคเทคโนโลยี. แหล่งที่มา https://techsauce.co/prnews/hr-digital-disruption-transform. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2567.