NEEDS ASSESSMENT OF PROJECT-BASED EDUCATION MANAGEMENT OF ANGTHONG VOCATIONAL EDUCATION INSTITUTES UNDER THE OFFICE OF THE VOCATIONAL EDUCATION COMMISSION
Main Article Content
Abstract
The purpose of this research article was to study needs assessment of project-based education management of Ang Thong vocational education institutes under the Office of the Vocational Education Commission. Quantitative research was designed by using a questionnaire. All research populations were teachers in Ang Thong vocational education institutes under the Office of the Vocational Education Commission under the Office of the Vocational Education Commission in 3 colleges which are Ang Thong Technical College, Wiset Chaichan Vocational College and Pho Thong Vocational College, and 165 people were selected. Data were analyzed as follows: 1) general information of the respondents find the frequency and percentage, 2) data on the level of opinions regarding needs assessment of project-based education management of Ang Thong vocational education institutes using analysis to find the mean and standard deviation and analyze needs assessment and prioritize needs using the formula (PNIModified).
Results of the research found that there was needs assessment for project-based education in Ang Thong vocational education institutes under the Office of the Vocational Education Commission in every aspect and PNIModified was between 0.159-0.206, and overall of PNIModified = 0.186. When considering each aspect, the 1st priority of needs assessment was learning management, followed by measurement and evaluation, activities, media equipment and curriculum, respectively.
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารได้กำหนดความซ้ำของผลงานด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ และวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2564 - 2568. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
กุลยา ต้นติผลาชีวะ. (2551). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค.
จารึก อะยะวงศ์. (2560). การศึกษาไทย : ปัญหาอยู่ที่ไหนกันแน่. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.
นันทิยา ชัยชนะเลิศ. (2561). รายงานการจัดประสบการณ์แบบโครงการ (Project Approach) ควบคู่สารนิทัศน์ โดยใช้บริบทเป็นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 3 โรงเรียนบ้านรวมมิตร. รายงานวิจัย. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: ชมรมเด็ก.
วัฒนา มัคคสมัน. (2554). การสอนแบบโครงการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: วี.พริ้นท์.
วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง. (2565). แผนพัฒนาการศึกษา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569). อ่างทอง: วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2564). แนวทางการจัดการศึกษาโดยใช้โครงการเป็นฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การค้าแห่งประเทศไทย.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2565). หลักสูตรแกนกลางการอาชีวศึกษา พุทธศักราช 2562. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. พิมพ์ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิมล ว่องวานิช. (2542). การสังเคราะห์เทคนิคที่ใช้ในการประเมินความต้องการจำเป็นในนิสิตคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รายงานวิจัย. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Katz, L.G. and Chard, S.C. (1994). Engaging children’s mind: The project approach. 10th ed. Norwood, New Jersey: Ablex.
Likert, Rensis. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale in Reading in Attitude Theory and Measurement. Fishbeic. New York: Wiley & Son.