ACADEMIC LEADERSHIP NEEDS FOR ADMINISTRATORS OF EDUCATIONAL INSTITUTIONS UNDER THE PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE
Main Article Content
Abstract
This research aims to study the need for academic leadership of school administrators under the Office of the Primary Education Area. The research is quantitative by using a questionnaire with a sample group of 278 primary school teachers. The research instrument is a questionnaire. The data were analyzed using basic statistics, namely frequency, percentage, mean, standard deviation, and need value.
The research results found that the need for academic leadership of school administrators under the Office of the Primary Education Area had the highest need index, which was ranked 1st as curriculum management and learning management, 2nd as having a vision, goals, and missions for developing the quality of education, 3rd as supervision, supervision, monitoring, and evaluation of teaching management, 4th as teacher professional development, and 5th as creating a learning atmosphere and culture, respectively.
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารได้กำหนดความซ้ำของผลงานด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ และวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
ไกศิษฎ์ เปลรินทร์. (2558). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผุ้นำทางวิชาการสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จรัส อติวิทยาภรณ์. (2554). หลักการและทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ไชยา ภาวะบุตร. (2555). ภาวะผู้นำทางวิชาการในสถานศึกษา. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ฐนิตนันท์ ทวีกระแสร์. (2557). การใช้หลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บริหารสถานศึกษาสหวิทยาเขตเวียงเรือคำสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 25. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ธานินท์ ศิลป์จารุ. (2551). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
นาวา สุขรมย์. (2550). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: แอล.ที.เพรส.
บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: ชมรมเด็ก.
ประสิทธิ์ เขียวศรี และคณะ. (2548). รูปแบบการพัฒนาพฤติกรรมภาวะผู้นําทางวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. รายงานวิจัย. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
ปราณี แสนทวีสุข. (2547). การนำเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอ่างทอง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
วีรยุทธ์ ชาตะกาญจน์. (2551). เทคนิคการบริหารสำหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร: วีพริ้น.
สกล คามบุศย์, เฉลย ภูมิพันธ์ และธันยาภรณ์ พาพลงาม. (2559). การพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี. (2564). รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปี 2564. แหล่งที่มา https://policy.singprimary.go.th/report_budget/peport65 สืบค้นเมื่อ 1 ก.พ. 2566.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี. (2565). แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. แหล่งที่มา https://policy.singprimary.go.th/plan/plan65 สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2566.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี. (2565). สารสนเทศทางการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565. แหล่งที่มา https://policy.singprimary.go.th/inform_m/EI65 สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2566.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2544). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2550). สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
Keeves, Peter J. (1988). Model and Model Building: Educational Research Methodology and Measurenment : An Intermational Handbook. Oxford: Pergamon Press.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement. 30(3). 607–610.