การจัดการเรียนรู้ สะเต็มศึกษา (STEM Education) เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์

Main Article Content

ศุภเชษฐ์ สีหาราช
ธนารักษ์ สารเถื่อนแก้ว

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการจัดการเรียนรู้ สะเต็มศึกษา (STEM Education) เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ผลการศึกษาพบว่า สะเต็มศึกษาเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการองค์ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์เข้าด้วยกัน ช่วยให้นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ และทักษะการทำงานร่วมกัน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาทักษะและความรู้ในเชิงบูรณาการในรูปแบบที่เน้นการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ และการสร้างสรรค์ ผ่านการเรียนรู้ที่มีการปฏิสัมพันธ์กับโลกของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาเน้นการเรียนรู้แบบเชิงปฏิบัติ โดยให้นักเรียนมีโอกาสทดลองและสร้างโปรเจกต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นการทำงานในสถานการณ์จริง การประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนรู้ในชีวิตประจำวัน และการเตรียมความพร้อมให้กับการทำงานในสาขาวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสะเต็มศึกษาในอนาคต

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ประกาศแผนการพัฒนาความรู้ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

บุญเลี้ยง ทุมทอง. (2564). การสังเคราะห์รูปแบบการสอนสะเต็มศึกษาโดยความร่วมมือกันจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 15(2), 109-119.

ปราณี พงษ์สุพรรณ, ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และ ศศิธร เขียวกอ. (2562). การพัฒนาหลักสูตรเสริมสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความคิดผลิตภาพ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารครุศาสตร์, 47(1), 219-239.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2557). การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา. สืบค้น 5 ตุลาคม 2566. จาก https://physics.ipst.ac.th/?page_id=2481.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักวิชาการ. (2562). หลักสูตรการศึกษาเพื่อพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรในยุค 4.0. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

อนุสรา พุ่มพิกุล. (2562). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่เน้นกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่มีต่อสมรรถนะการออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).

อภิสิทธิ์ ธงไชย. (2556). เทคโนโลยีและวิศวกรรมคืออะไรในสะเต็มศึกษา. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 42(185), 17-18.

Guilford, J. P. (1959). Traits of creativity. In H. H. Anderson (Ed.), Creativity and its Cultivation (pp. 142-161). New York: Harper & Brothers.

Homhol, P. & Kanjanasakda, Y. (2009). Need for and Lack of Engineering Workforce in Thailand’s Industrial Estates. University of the Thai Chamber of Commerce Journal: Humanities and Social Science, 29(3): 67-83.

Office of the National Economic and Social Development Board. (2017). ร่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี 2560 - 2579. กรุงเทพฯ: สำนักงานนโยบายและแผนพัฒนาสังคมและมนุษย์.

Twinkl. (2566). STEM Education (สะเต็มศึกษา). สืบค้น 5 ตุลาคม 2566. จาก https://www.twinkl.co.th/teaching-wiki/stem-education-sa-tem-suksa.

Similar Articles

You may also start an advanced similarity search for this article.