ไทลื้อ และพุทธศาสนาเถรวาทในจีน (สิบสองปันนา) : ประวัติศาสตร์และพัฒนาการ

Main Article Content

พระปลัดระพิน พุทธิสาโร
ดิเรก ด้วงลอย
มัลลิกา ภูมะธน

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการและวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนาเถรวาทในกลุ่มชาวไตลื้อในสิบสองปันนา โดยใช้การศึกษาจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์จากพื้นที่จริง รวมไปถึงการสังเกตอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่ทำการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า สิบสองปันนาเป็นดินแดนที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ไทลือที่จัดอยู่ในตระกูลภาษาไทกะได รวมทั้งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่นับถือพระพุทธศาสนาเถรวาท นับแต่ลังกาวงเข้ามาอิทธิพลยังดินแดนสุโขทัย และแพร่กระจายไปยังวัดป่าแดงพร้อมกับนิกายลังกาแบบวัดป่าแดง ทำให้พระพุทธศาสนากระจายไปยังกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อในจีนและยังคงสืบทอดรักษามาจนกระทั่งปัจจุบัน โดยความสำคัญของพระพุทธศาสนาเถรวาทเป็นแบบกลุ่มชาติพันธุ์ในพี่น้องไทลื้อ ทำให้พระพุทธศาสนามีลักษณะผสมผสานกับแนวคิดพื้นเมืองและเอกลักษณ์ไทเหนือ การใช้บทสวด การใช้ภาษาสื่อสารในกลุ่มไทลื้อด้วยกันเอง และกลุ่มชาวจีนกรณีที่เป็นศาสนิกชาวจีน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จารุวรรณ พรมวัง. (2536). การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมบางประการของชาวไทลื้อ. (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

จีรพันธ์ จันทร์แดง และ ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี. (2559). จากนอกสู่ใน: ลักษณะของเรือนและที่ว่างในเรือนไทลื้อในเมืองล่า สิบสองปันนา. วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม, 3(2), 101-121.

ฉลอง สุขทอง (2553). รอยไทยในสิบสองปันนา. วารสารศิลปะและวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำมูล, 5(2553), 76-82.

ฉวีวรรณ ว่องเจริญกุล และ เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2557). ชนกลุ่มน้อยเผ่าไต : พี่น้องเผ่าไทในสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 15(27), 51-64.

ณัชชา เลาหศิรินาถ. (2541). สิบสองพันนา: รัฐจารีต. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธนิก หมื่นคำวัง และ เกรียงไกร เกิดศิร. (2563). แบบแผนของเรือนพื้นถิ่นไทลื้อ: ทิศทาง การจัดวางพื้นที่ และลำดับศักดิ์ของพื้นที่ หมู่บ้านหุม เมืองมาง สิบสองปันนา ประเทศจีน. Journal of Architectural/Planning Research and Studies, 17(2), 59-78.

บุญช่วย ศรีสวัสดิ์. (2557). ไทยสิบสองปันนา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศยาม.

พระมหาบุญไทย ปุญญามโน. (2552). พระพุทธศาสนาเถรวาทและศิลปวัฒนธรรมสิบสองปันนา. สืบค้น 3 มกราคม 2566. จาก https://www.cybervanaram.net/2009-12-17-14-43-37-13/11-2010-02-03-14-54-51.

พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น). (2549). การศึกษาองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ปรากฏในวรรณกรรมพระพุทธศาสนาเรื่องอานิสงส์และคัมภีร์ที่ใช้เทศน์ในเทศกาลต่างๆ ของล้านนา. (พุทธศาสตรดุษฎีบัญฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

ยรรยง จิระนคร. (2541). ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมสิบสองปันนา (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

ลู่ หยาง, ภานุ สรวยสุวรรณ และ ชูศักดิ์ สุวิมลเสถียร. (2566). นวกิจสุนทรียะ : สัมพันธบทการอนุรักษ์และเผยแพร่คุณค่าในจิตรกรรมฝาผนัง พุทธศาสนาวัดมั่นไจ่หลง สิบสองปันนา. วารสารวิจัยราชภัฎกรุงเก่า, 10(3), 40-54.

วนิดา พึ่งสุนทร. (2533). เรือนไตลื้อในสิบสองปันนา. วารสารหน้าจั่ว, 10(2533), 12-36.

วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2550). เสียงไตลื้อ การเดินทาง/เคลื่อนที่ของพลเมืองลื้อ สิบสองปันนา. วารสารสังคมศาสตร์, 19(2), 194-233.

ศิโรดม เสือคล้าย. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบพัฒนาการของวิหารไทลื้อ ระหว่างกรณีศึกษาในเมืองน่าน ประเทศไทย กับกรณีศึกษา ในแคว้นสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารวิชาการ AJNU ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 6(1), 1-13.

สุมิตรา สุรรัตน์เดชา. (2554). กรณีศึกษาเปรียบเทียบชนชาติไทลื้อในสิบสองปันนาและจังหวัดน่าน :หนทางสู่การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน (รายงานการวิจัย). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2555). พุทธศิลป์ในบริบทความหลากหลายทางชาติพันธุ์. สืบค้น 3 มกราคม 2566. จาก http://socanth.tu.ac.th/wp-content/uploads/2014/12/JSA-31-2-seminar-report.pdf

องค์ สุริยเมฆะ. (2558). สถานภาพการศึกษาชาติพันธุ์ไทลื้อ ตั้งแต่ พ.ศ. 2480-2540. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์, 34(1), 127-144.

อิสริยาภรณ์ แสงปัญญา. (2562). ภาพสะท้อนวิถีชีวิตด้านสังคมของชาวไทสิบสองปันนาจากสุภาษิตไทลื้อ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 1(1), 124-143.

DAO LI. (2561). การศึกษาวัฒนธรรมไทลื้อด้านศาสนา ที่เมืองเชียงรุ่ง จังหวัดสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 10(1), 162-174.

DMC.TV. (2556). สิบสองปันนาดินแดนแห่งพระพุทธศาสนา. สืบค้น 3 มกราคม 2566. จาก https://www.dmc.tv/pages/latest_update/20130410

GUANGJIAO YU, อุเทน ลาพิงค์ และ พระมหาวิเศษ ปญฺญาวชิโร. (2565). การประยุกต์ใช้หลักฆราวาสธรรมในการครองเรือนของชาวไทลื้อ ในเขตปกครองตนเองสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารปณิธาน, 18(1), 235-258.