แนวทางการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย: การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา

Main Article Content

แคทรียา แสงใส

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย: การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา ผลการศึกษาพบว่า การจัดการเรียนรู้แบบมุ่งประสบการณ์ทางภาษาจะเน้นการพัฒนาภาษาในบริบทที่เป็นไปตามการรับรู้โดยธรรมชาติ โดยการพัฒนาความหมายโดยรวมของภาษาไปสู่องค์ประกอบย่อยของภาษา อันได้แก่ รูปพยัญชนะ สระ ตัวสะกด และหลักภาษา การจัดขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้จะจัดให้การอ่าน เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาทักษะทางภาษา ไปสู่การพัฒนาทักษะอื่นๆ เช่น การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ในลักษณะทักษะสัมพันธ์หรือในลักษณะบูรณาการตามหลักการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ผู้เรียนจะใช้บริบททางภาษาจากการอ่านเป็นปัจจัยป้อนที่มีความหมายและพัฒนาปัจจัยป้อนนั้น ผ่านกระบวนการเรียนรู้ ด้วยการใช้เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะสื่อสารซึ่งเน้นปฏิสัมพันธ์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาอย่างเป็นธรรมชาติ และเกิดความคล่องตัวจนเกิดความชํานาญในการใช้ภาษา ถึงขั้นนําไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2535). คู่มือการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533). กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). การสอนภาษาไทย. สืบค้น 1 ธันวาคม 2565. จาก https://www.moe.go.th/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

จินตนา วงศ์อำไพ. (2551). การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่าน การเขียนและนิสัยรักการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่จัดการเรียนรู้แบบมุ่งประสบการณ์ภาษากับการจัดการเรียนรู้ตามคู่มือครู. (ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา)

ชนาธิป พรกุล. (2551). การออกแบบการสอน: การบูรณาการ การอ่าน การคิดเคราะห์ และการเขียน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชวลิต ชูกำแพง. (2551). การพัฒนาหลักสูตร. มหาสารคาม: ทีคิวพี จำกัด.

ณัฐวุฒิ กิจรุ่งเรือง, วัชรินทร์ เสถียรยานนท์ และ วัชนี เชาว์ดำรง. (2545). ผู้เรียนเป็นสำคัญและการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ของครูมืออาชีพ ตามหลักสูตรการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: เยลโล่การพิมพ์.

ทิศนา แขมมณี. (2551). รูปแบบการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บูรชัย ศิริมหาสาคร. (2546). เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์.

ประภาพร สุขพูล. (2544). การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มการงานพื้นฐานอาชีพชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง งานประดิษฐ์โดยจากข้าวโพด โดยใช้โครงงาน. (การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

วรรณี โสมประยูร. (2553). เทคนิคการสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้าวิชาการ.

วิกานดา จักรอิศราพงศ์. (2553). การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแบบองค์รวม สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิชัย ประสิทธิ์วุฒิเวชช์. (2542). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น: สานต่อที่ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: บริษัท เซ็นเตอร์ดิสคัฟเวอรี่ จำกัด.

วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2550). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design. กรุงเทพฯ: ช้างทอง.

วิรัช วรรณรัตน์. (2539). การวัดและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สนั่น มีขันหมาก. (2538). ระเบียบวิธีแห่งวิทยาการการสอน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมนึก ภัททิยธนี. (2549). การวัดผลการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.

สำลี รักสุทธี. (2553). การจัดทำสื่อนวัตกรรมและแผนประกอบสื่อนวัตกรรม. นนทบุรี: เพิ่มทรัพย์การพิมพ์.

สุวรรณี ยหะกร. (2560). การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาระการอ่าน). สืบค้น 1 ธันวาคม 2565. จาก https://citly.me/f1xO3.

สุวิทย์ มูลคำ. (2551). การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: อี เค บุ๊ค.

เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์. (2531). คู่มือครูวิธีการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์. (2534). การพัฒนาการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา เล่ม 2. กรุงเทพฯ: ประยูรวงศ์จำกัด

อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2550). หลักการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

Good. Carter V. (1974). Dictionary of Education. New York: McGraw- Hill Book.

Hills. P.J. A. (1982). Dictionary of Education. London: Routledge & Kegan Payi.

Hough, J. B., & Duncan, J. K. (1970). Teaching: Description and analysis. United States: Addison-Wesley.

Moore. K. D. (1992). Classroom teaching skills. New York: McGraw-Hill.

Thorndike, R. L., & Hagen, E. (1969). Measurement and evaluation in psychology and education. (Second Edition). New York-London: John Wiley & Sons.