วาทกรรมกรรมาชีพ: มาร์กซ์ ลากอง และเดอเลิซ

ผู้แต่ง

  • ชญาน์ทัต ศุภชลาศัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

กรรมาชีพ, มาร์กซ์, ลากอง, เดอเลิซ, การเมือง

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเชิงฉบับนี้มุ่งสร้างองค์ความรู้เชิงทฤษฎีการเมือง นามว่า “วาทกรรมกรรมาชีพ” โดยนำเสนอการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่นำไปสู่การนิยามความหมายคำว่ากรรมาชีพขึ้นใหม่ ซึ่งสัมพันธ์กับการเมืองเพื่อการปลดปล่อยจากทุนนิยม และเป็นองค์ความรู้เชิงทฤษฎีการเมืองที่พยายามสร้างความแตกต่างกับมาร์กซิสม์ดั้งเดิมและนีโอมาร์กซิสม์อยู่บ้าง ทั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อผลิตและต่อยอดบูรณาการศาสตร์ผ่านการสร้างบูรณาการความรู้เชิงทฤษฎีอันประกอบด้วยทฤษฎีการเมือง ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และทฤษฎีหลังโครงสร้างนิยม โดยทฤษฎีการเมืองในบทความนี้มุ่งศึกษาทฤษฎีการเมืองผ่านงานเขียนต้นฉบับของคาร์ล มาร์กซ์ นักปฏิวัติและนักทฤษฎีมาร์กซิสต์ชาวเยอรมัน และทฤษฎีจิตวิเคราะห์มุ่งศึกษาทฤษฎีผ่านงานเขียนต้นฉบับของฌาคส์ ลากอง นักจิตวิเคราะห์และนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส รวมทั้งศึกษาทฤษฎีหลังโครงสร้างนิยมผ่านงานเขียนต้นฉบับของจิลล์ เดอเลิซ นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส ในลักษณะบูรณาการความรู้ของนักคิดทั้ง 3 เข้าด้วยกัน

References

นภาพร อติวานิชยพงศ์. (2561). สหภาพแรงงานไทยที่เป็นขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม. มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท.

นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2564). “แรงงานแพลตฟอร์มในระบบเศรษฐกิจดิจิทัล”. วารสารวิชาการแสงอีสานมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน. 18 (1): 1-10.

ภาสกร ญี่นาง. (2564). “วิกฤตสิทธิแรงงานในเศรษฐกิจยุคดิจิทัล: ปัญหาความขัดแย้งระหว่าง “ไรเดอร์” กับ แพลตฟอร์มที่รัฐเพิกเฉย”. CMU Journal of Law and Social Sciences. 14 (1): 84-113.

ลัดดา ประสพสมบัติ และ พจนา มณฑีรรัตน์. (2561). “Pierre Bourdieu: ความคิดว่าด้วยชนชั้นและรสนิยมการบริโภค”. ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน: รวมบทความวิจัย บทความวิชาการ. หน้า 307- 317.

วิชัย นราไพบูลย์. (2559). ประวัติศาสตร์ขบวนการแรงงานเยอรมันฉบับย่อ. มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท และมูลนิธิพิพิธภัณฑ์แรงงานไทย.

ศรัญญา ปานเจริญและวงอร พัวพันสวัสดิ์. (2564). “ความเสี่ยงของแรงงานในดิจิทัลแพลตฟอร์มเบื้องหลังอาชีพพนักงานส่งอาหาร”. วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับบัณฑิตศึกษา). 9 (3): 132-144

ศรัณย์ จงรักษ์. (2564). “ไรเดอร์ไม่ใช่ลูกจ้าง: ความเบี้ยวบิดของระบบกฎหมายไทย”. CMU Journal of Law and Social Sciences. 14 (2), 38-58.

สรวิศ ชัยนาม. (2567). เพราะเราต่างขาดพร่อง: การเมืองเรื่องเอนจอยเมนต์. เกศกนก วงษาภักดี แปล. กรุงเทพฯ: B&B Press.

สรวิศ ชัยนาม. (2565). อยากรู้แต่ไม่อยากถาม: ทุกสิ่งอย่างเรื่องการเมืองโลกกับ Lacan. ปฐมพงศ์ กวางทอง แปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยาม.

ฮาเก็น คู. (2552). แรงงานเกาหลี. แปลโดย ธัญลักษณ์ เหลืองวิสุทธิ์. บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ บรรณาธิการ.กรุงเทพฯ: วิภาษา.

Barrow, C. (2020). The Dangerous Class: The Concept of the Lumpenproletariat. Ann Arbor: University of Michigan Press.

Deleuze, G. and Felix Guattari. (2004). Anti-Oedipus: Introduction to Schizoanalysis. London: Continuum.

Dyer-Witheford, Nick. (2015). Cyber-Proletariat: global labour in the digital vortex. London: Pluto Press.

Elster, J. (1986). An Introduction to Karl Marx. Cambridge: Cambridge University Press.

Foucault, M. (2002). Archaeology of Knowledge. Translated by A.M. Sheridan Smith. London and New York: Routledge

Lacan, J. (1966). The Logic of Phantasy. Unpublished. https://esource.dbs.ie/server/api/core/bitstreams/06182285-bff2-4e88-93cc-a5d3dd35eeb7/content. Accessed: August 13, 2024.

Lacan, J. (1992). The Seminar of Jacques Lacan Book 2 (1954-1955): The Ego in Freud’s Theory and in the Technique of Psychoanalysis. Edited by Jacques-Alain Miller. Translated by Sylvana Tomaselli. New York: Norton.

Lacan, J. (1997). The Seminar of Jacques Lacan Book 3 (1955-1956): The Psychoses. Translated by Russell Grigg. New York: W.W. Norton & Company.

Lacan, J. (2006a) Écrits: The First Complete Edition in English. Translated by Bruce Fink. London and New York: W.W. Norton & Company.

Lacan, J. (2006b). The Seminar of Jacques Lacan Book 7 (1959-1960): The Ethics of Psychoanalysis. Edited by Jacques-Alain Miller. London and New York: Routledge.

Lacan, J. (2007). The Seminar of Jacques Lacan Book 17: The Other Side of Psychoanalysis. Translated by Russell Grigg. London and New York: W.W. Norton & Company.

Lacan, J. (2018). The Four Fundamental Concepts of Psycho-Analysis. Edited by Jacques-Alain Miller. Translated by Alan Sherida. London and New York: Routledge.

Lacan, J. (2020). The Seminar of Jacques Lacan Book 5 (1957-1958): Formations of the Unconscious. Translated by Russel Grigg. Edited by Jacques-Alain Miller. Wiley: Norton Company.

Marx, K. (1993). Grundrisse: Foundations of the Critique of Political Economy. London: Penguin Classics.

Marx, K. (1992). Capital: A Critique of Political Economy (Volume 2). London: Penguin Classics.

Marx, K. (1990). Capital: A Critique of Political Economy (Volume 1). London: Penguin Classics.

McGowan, T. (2016). Capitalism and Desire: The Psychic Cost of Free Markets. New York: Columbia University Press.

McGowan, T. (2013). Enjoying What We Don’t Have: The Political Project of Psychoanalysis. Nebraska: University of Nebraska.

Tomšic, S. (2019). The Labour of Enjoyment: Towards a Critique of Libidinal Economy. Broschur: August Verlag.

Tomšic, S. (2015). The Capitalist Unconscious: Marx and Lacan. London and New York: Verso.

Žižek, S. (2022). Surplus-Enjoyment: A Guide For The Non-Perplexed. London: Bloomsbury Publishing.

Žižek, S. (2014). Absolute Recoil: Towards A New Foundation of Dialectical Materialism. London and New York: Verso.

เผยแพร่แล้ว

12-12-2024

How to Cite

ศุภชลาศัย ช. (2024). วาทกรรมกรรมาชีพ: มาร์กซ์ ลากอง และเดอเลิซ. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 7(3), 125–174. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/RJPA/article/view/972