ตัวแบบการวิเคราะห์: เครื่องมืออธิบายปรากฏการณ์ทางการเมือง
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นบทความทางวิชาการที่เป็นผลจากการรวบรวม เรียบเรียงและวิเคราะห์แนวคิดที่สำคัญคือ ความเป็นศาสตร์ของรัฐศาสตร์ ซึ่งเป็นความพยายามของนักรัฐศาสตร์ในยุคพฤติกรรมศาสตร์ที่ต้องการสร้างทฤษฎีทางการเมืองที่เทียบเคียงได้กับศาสตร์บริสุทธิ์ เช่น เคมี ชีววิทยา ฟิสิกส์ ฯลฯ ด้วยหวังที่จะสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์และทำนายเหตุการณ์ทางการเมืองที่จะเกิดขึ้นในอนาคตโดยมีความถูกต้องแม่นยำในระดับหนึ่งได้ จุดมุ่งหมายที่สำคัญของบทความคือต้องการทำความเข้าใจปรัชญาและข้อสมมติฐานเบื้องต้นที่อยู่เบื้องหลังตัวแบบการวิเคราะห์ที่ทรงอิทธิพลของนักรัฐศาสตร์ที่ได้นำมาใช้ในการศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมือง อันประกอบด้วยตัวแบบระบบ ตัวแบบหน้าที่และตัวแบบการสื่อสาร
References
สิทธิพันธ์ พุทธหุน. (2555). แนวการศึกษารัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Almond, Gabriel and James Coleman. (1960). The Politics of The Developing Areas. New Jersey: Princeton University Press.
Bertalanffy, Ludwig von. (1960). Problems of Life. New York: Harper Torchbook.
Davis, Kingsley. (1959). "The Myth of Functional Analysis as a Special Method in Sociology and Anthropology", American Sociological Review, 2. (Dec. 1959), p. 757.
Homans, George C. (1960). Social Behavior: Its Elementary Forms, (New York: Harcourt, Brace 2 World Inc.
Moor, Wilbert. (1978). Functionalist" in Tom Bottomore and Robert Nisbet editors., History of Sociological Analysis., New York: Aric Books, Inc.
Sorokin, Pitirim. (1928). Contemporary Sociological Theories. New York: Harper & Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.