การจัดการระบบป้องกันอัคคีภัยของโรงงานอุตสาหกรรม
บทคัดย่อ
อัคคีภัยที่เกิดขึ้นในโรงงานอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน บ่อยครั้งที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในบริเวณใกล้เคียง บางครั้งอาจขยายเป็นวงกว้างออกไป การป้องกันอัคคีภัยจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะระบบป้องกันอัคคีภัย ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้การแจ้งเตือนและระงับเหตุเพลิงไหม้ ที่จะต้องมีความพร้อมในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ บทความวิชาการนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพรรณนาการจัดการระบบการป้องกันอัคคีภัยของโรงงานอุตสาหกรรมโดยวิธีการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งพบว่า การจัดการระบบป้องกันอัคคีภัยของโรงงานอุตสาหกรรมที่มีประสิทธิภาพผู้ประกอบกิจการและผู้เกี่ยวข้องจะต้องคำนึงถึงลำดับขั้นตอนที่สำคัญเริ่มตั้งแต่กฎหมาย มาตรฐานของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย และมาตรฐานสากล มาตรฐานระบบป้องกันอัคคีภัย มีขั้นตอนดังนี้ การออกแบบ การติดตั้ง การทดสอบ การใช้งาน และการตรวจสอบบำรุงรักษา จะต้องมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับการจัดการความปลอดภัยด้านอัคคีภัย มีขั้นตอนดังนี้ แผนก่อนเกิดเหตุอัคคีภัย ประกอบด้วย การตรวจตรา การอบรม การรณรงค์ป้องกันอัคคีภัย แผนขณะเกิดเหตุอัคคีภัย ประกอบด้วย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ แผนหลังเกิดเหตุอัคคีภัยประกอบด้วย การบรรเทาทุกข์ เพื่อปกป้องชีวิตและทรัพย์สินของผู้เกี่ยวข้องที่ต้องใช้งานอาคารโรงงาน
References
กฎกระทรวง ฉบับที่ 60. (2549, 5 กรกฎาคม). ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522. ราชกิจจานุเบกษา,.123(2 ก), 20-24.
กองส่งเสริมเทคโนโลยีความปลอดภัยโรงงาน. (2565). ข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุ ปี 2562-2566. ค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2566, จาก http://reg3.diw.go.th/safety/
เกชา ธีระโกเมน. (2545). ปัญหาในการจัดระบบการป้องกันอัคคีภัยสำหรับอาคาร. กรุงเทพมหานคร: สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์.
คมชัดลึกออนไลน์. (2564, 5 กรกฎาคม). ไฟไหม้โรงงานกิ่งแก้ว ที่ผลิตโฟมและเม็ดพลาสติก ชื่อว่า บริษัทหมิงตี้ เคมีคอล. ค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2566, จาก https://www.komchadluek.net/news/472987
เฉลิมพร เกษมสวัสดิ์ และเด่นศักดิ์ ยกยอน. (2559). การประเมินความเสี่ยงและแผนป้องกันระงับอัคคีภัยในโรงพยาบาลกรณีศึกษา: โรงพยาบาลที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน JCI แห่งหนึ่งในประเทศไทย.วารสาร ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม E-Journal, 1(2), 55-64.
ณ พงษ์ สุขสงวน. (2565). การศึกษาระบบวิศวกรรมการป้องกันและระงับอัคคีภัยขององค์กรธุรกิจในสังคมไทย. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม, 7(3), 93-103.
ทองใบ เพ็งธรรม, พงศ์สัณห์ ศรีสมทรัพย์, เฉลิมชัย ปัญญาดี และเมธี พะยอมยงค์. (2564).ระบบการบริหารจัดการสาธารณภัยด้านอัคคีภัยเชิงบูรณาการ. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 11(1), 230-242.
ธนารักษ์ ผาติสุวัณณ. (2562). แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการลดความเสี่ยงของอัคคีภัยสำหรับอาคารเสี่ยงภัยประเภทโรงมหรสพกรณีศึกษาพื้นที่เขตวัฒนา.การค้นคว้าอิสระรัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ประกาศกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย. (2555, 9 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา.
(2 ก). 24-33.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน.(2552, 30 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา, 126(143 ง), 23-28.
พงศ์สรร เทพคุ้มกัน. (2565). การตรวจสอบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ของเครื่องตรวจจับควัน ชนิดโฟโต้อิเล็กทริกโดยอาศัยสนามแม่เหล็ก.วารสารการประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 7,
-130.
พระราชบัญญัติควบคุมอาคารฉบับที่ 3. (2543, 14 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา, 117(42 ก), 1-14.
วัฒนชัย กลีบรัง. (2565). มาตรการป้องกันและระงับอัคคีภัย. กรุงเทพมหานคร: กองส่งเสริมเทคโนโลยีความปลอดภัยโรงงานกลุ่มป้องกันอัคคีภัย.
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ. (2559). มาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย (พิมพ์ปรับปรุงครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์.
ศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมพลาสติก. (2566). โครงสร้างอุตสาหกรรมพลาสติกไทย. ค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2566, จาก http://plastic.oie.go.th/IndustryStructure.aspx
สมมาศ เลิศลักษณ์อรรยา. (2559). ระบบป้องกันอัคคีภัยกับการจัดการความปลอดภัยด้านอัคคีภัย.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 6(3), 351-358.
สรภัค รัชตโสภณ. (2562). ศึกษาการจัดการความรู้ด้านการป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในชุมชน: กรณีศึกษา ชุมชนริมทางรถไฟหลังโรงพยาบาลเดชา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสน ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Building Centre of Japan. (2003). Design Manual of Fire Protection System Tokyo: Fuji Press. Retrieved from https://www.bcj.or.jp/en/services/evaluation/issue/issue02/
Kodur. V, Kumar. P and Rafi. M. M. (2019). Fire hazard in buildings review, assessment, and strategies for improving fire safety. Fire hazard in building. Retrieved from https://www.emerald.com/insight/content/doi/10.1108/PRR-12-2018-0033/full/html.
Leon. S. (1962). Triangle Fire. New York: Lippincott.
National Fire Protection Association. (2002). NFPA 550 Guide to the Fire Safety Concepts Tree (2002 edition). Retrieved from https://www.nfpa.org/codes-and-standards/all-codes-and- standards/list-.of-codes-and-standards/detail?code=550
Rzaij, W. A. (2022). Assessment Strategies of Fixed Firefighting system in Residential Multi-Story Building for Improving Fire Safety: A Review. Journal of Engineering, University of Baghdad. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/361030711_.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.