กระบวนการวิจัย: นานาทัศนะสู่การเป็นนักวิจัยมืออาชีพ
บทคัดย่อ
ในบรรดาวิธีการในการแสวงหาความรู้ ความจริง ในปัจจุบันนั้น การวิจัยถือได้ว่าเป็นวิธีการที่เชื่อถือต่อความถูกต้องของคำตอบได้มากที่สุด เพราะการวิจัยอาศัยวิธีการที่เป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริงเมื่อสืบค้นคำอธิบายของนักวิชาการต่อรายละเอียดปลีกย่อยในแต่ละขั้นตอนการวิจัยจะพบความหลากหลายของคำอธิบายตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการวิจัย บทความนี้จึงต้องการรวบรวมประเด็นความหลากหลายของคำอธิบายในแต่ละขั้นตอนการวิจัยเหล่านั้น เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงชุดของคำอธิบายต่างๆ โดยผู้เขียนได้แบ่งกระบวนการวิจัยออกเป็น 9 ขั้นตอนและได้รวบรวมคำถามและคำตอบที่หลากหลายในแต่ละประเด็น รวมถึงได้แสดงทัศนะส่วนตนในแต่ละประเด็นนั้นๆ ด้วย ทั้งนี้ ผู้เขียนได้เสนอแนะทางออกสำหรับผู้ทำวิจัยต่อปัญหาความหลากหลายของคำอธิบายในหลักเกณฑ์ในการวิจัยเพื่อนำไปสู่การเป็นนักวิจัย มืออาชีพ ดังนี้ (1) ควรอ้างอิงหลักเกณฑ์ต่างๆ จากนักวิชาการเสมอ (2) ควรเลือกอ้างอิงหลักเกณฑ์จากนักวิชาการที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก (3) ควรอ้างอิงข้อมูลจากหลายแหล่ง และ (4) ควรพิจารณาถึงเหตุผลที่แท้จริงของการกำหนดหลักเกณฑ์นั้นๆ และตัดสินบนพื้นฐานที่เหมาะสมกับการวิจัยของตน
References
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2560). หลักสถิติ (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
กาญจนา วัธนสุนทร. (2550). “บทที่ 3 การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง” ใน ตำราชุดฝึกอบรมหลักสูตรนักวิจัย (หน้า 41-74). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
กุณฑลี รื่นรมย์. (2553). การวิจัยการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กุหลาบ รัตนสัจธรรม. (2550ก). บทที่ 2 การตั้งโจทย์วิจัย. ตำราชุดฝึกอบรมหลักสูตรนักวิจัย, หน้า 24-40. กรุงเทพฯ: สำนักพิม์คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
กุหลาบ รัตนสัจธรรม. (2550ข). บทที่ 4 การตั้งสมมติฐานการวิจัย. ตำราชุดฝึกอบรมหลักสูตรนักวิจัย, หน้า 24-40. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
เครือวัลย์ ลิ้มปิยะศรีสกุล. (2530). การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จุฑารัตน์ วรประทีป. (2561). หลักสถิติ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
จุมพล สวัสดิยากร. (2520). หลักและวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมการวิจัยทางสังคมศาสตร์ สภาวิจัยแห่งชาติ.
เฉลิมพล ศรีหงษ์. (2565). การประเมินความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม: จะทำอย่างไรให้ถูกต้อง. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 5(1), 28-47.
ชไมพร กาญจนกิจสกุล. (2556). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ตาก: โพรเจ็คท์ ไฟฟ์.
ชาลิสา มากแผ่นทอง. (2559). การวิจัยการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2549). เทคนิคการเขียนเค้าโครงการวิจัย: แนวทางสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกรสซิฟ.
ณรงค์ ศรีสวัสดิ์. (2552). เทคนิคการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐวิภา สินสุวรรณ. (2564). การวิจัยเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดำรงค์ วัฒนา. (2542). สถิติประยุกต์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลทางรัฐประศาสนศาสตร์และรัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะรัฐศาสตร์ โครงการผลิตตำราและเอกสารประกอบการสอน.
ทิพย์สิริ กาญจนวาสี และ ศิริชัย กาญจนวาสี. (2561). วิธีวิทยาการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: พิมพ์ทันใจ.
ธนัน อนุมานราชธน. (2544). การวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์. เชียงใหม่: เชียงใหม่พิมพ์สวย.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.
ธีรภัทร เสรีรังสรรค์. (2561). ประมวลสาระชุดวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์ (หน่วยที่ 5 การทบทวนวรรณกรรมการวิจัยเชิงคุณภาพ, หน้า 1-69. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2552). วิจัยและสถิติ : คำถามชวนตอบ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิภา ศรีไพโรจน์. (2531). หลักการวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศึกษาพร.
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2555). การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย :คุณสมบัติการวัดเชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ และพิสมัย เสรีขจรกิจเจริญ. (2560). ระเบียบวิธีวิจัยทางการสาธารณสุข: กรณีศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร. กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักส์.
บุญธรรม จิตอนันต์. (2545). การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปฏิมา มั่นศิลป์. (2553). คู่มือการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยทางสังคมของชุมชนในป่าชายเลน. ชลบุรี: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, ส่วนบริหารจัดการทรัพยากรป่าชายเลนที่ 1.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2556). วิจัยการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด.
ปาริชาต สถาปิตานนท์. (2549). ระเบียบวิธีวิจัยการสื่อสาร (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พงษ์เทพ สันติกุล. (2561). การวิจัยทางวิทยาศาสตร์สังคมสำหรับนักศึกษาและผู้ปฏิบัติงานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ. (2548). การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการบริหาร. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2553). การวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, คณะครุศาสตร์
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2545). ศาสตร์แห่งการวิจัยทางการเมืองและสังคม (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีไทย และสมาคมรัฐศาสตร์แห่งประเทศไทย.
พระครูสังฆรักษ์เกียรติศักดิ์ กิตติปัญโญ. (2558). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. เชียงใหม่: ประชากรธุรกิจ.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2531). การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา.
พัชนี เชยจรรยา. (2558). การวิจัยเชิงปริมาณทางนิเทศศาสตร์. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พิชิต พิทักษ์เทพสมบัติ. (2547). การสำรวจโดยการสุ่มตัวอย่าง: ทฤษฎีและปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2561). เทคนิคการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิสมัย หาญมงคลพิพัฒน์. (2553). หลักสถิติ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เพ็ญแข แสงแก้ว. (2541). การวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
ภัทรา นิคมานนท์. (2539). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์.
ยุทธ ไกยวรรณ์. (2553). หลักสถิติวิจัยและการใช้โปรแกรม SPSS. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รวีวรรณ ชินะตระกูล. (2545). วิธีวิจัยการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
วรรณี แกมเกตุ. (2555). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรัญญา ภัทรสุข. (2557). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัลลภ ลำพาย. (2551). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ. (2565ก). ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณกับความเป็นสากล (ที่ยังไม่เป็นสากล?) : บทสำรวจความหลากหลายของคำอธิบายการสุ่มตัวอย่างและการหาขนาดตัวอย่างในหนังสือระเบียบวิธีวิจัยและสถิติเพื่อการวิจัยโดยนักวิชาการไทย. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 5(2), 120-161.
วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ. (2565ข). หลากลีลาการเขียนนำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย: มุมมองที่แตกต่างของนักวิชาการไทย. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 5(1), 1-27.
วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ. (2566). ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรีเพ็ญ ทรัพย์มนชัย, มนวิกา ผดุงสิทธิ์ และนภดล ร่มโพธิ์. (2557). การวิจัยทางธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
ศศิธร แม้นสงวน. (2562). การวิจัยทางคณิตศาสตร์ศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2551). ระเบียบวิธีวิจัยทางสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เทพเพ็ญวานิสย์.
ศักดิ์ ผาสุกนิรันต์. (2504). ข้อแนะนำบางประการสำหรับนักวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์.
ศุภชัย ยาวะประภาษ. (2544). การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมจิตรา เรืองศรี. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา (บทที่ 10 เครื่องมือในการวิจัย, หน้า 269-343). กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สายฝน ไชยศรี. (2565). ระเบียบวิธีการวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์ : การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุจิตรา บุณยรัตพันธุ์. (2563). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 19). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, คณะรัฐประศาสนศาสตร์.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: สามลดา.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2549). หลักและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ประสิทธิภัณฑ์แอนด์พริ้นติ้ง.
สุรศักดิ์ หลาบมาลา. (2523). วิจัยการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แพร่พิทยา.
สุวรรณา ธุวโชติ. (2541). วิธีวิจัยทางสหกรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุวิทย์ ภาณุจารี. (2563). การวิจัยทางการบริหารการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
สุวิมล ติรกานันท์. (2549). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิมล ติรกานันท์. (2550). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
องอาจ นัยพัฒน์. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สามลดา.
อภิวัฒน์ สมาธิ. (2561). วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. สงขลา: เทมการพิมพ์.
อรพรรณ คงมาลัย และอัญณิฐา ดิษฐานนท์. เทคนิควิจัยด้านการบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อัญชนา ณ ระนอง. (2554). ระเบียบวิธีวิจัย. กรุงเทพฯ: แสงสว่างเวิลด์เพรส.
อัศรา ประเสริฐสิน. (2563). เครื่องมือการวิจัยทางการศึกษาและสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัศวิน แสงพิกุล. (2562). ระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Ary, D., Jacobs, L. C., Razavieh, A., and Sorensen, C. (2006). Introduction to Research in Education. (7th ed.). Canada: Thomson Wadsworth.
Babbie, E. 2010. The Practice of Social Research. (12th ed). Boston: Wadsworth, Cengage Learning.
Baruch, Y. (1999). Response Rates in Academic Studies – A Comparative Analysis. Human Relations, 52(4), 421-434.
Breakwell, G. M., Smith. J. A., and Wright, D. B. (2012). Research Methods in Psychology. (4th ed.). Thousand Oaks, CA: SAGE Publication Inc.
Cook, C., Heath, F. and Thompson, R. L. (2000). A Meta-analysis of Response Rates in Web or Internet-based Surveys. Educational and Psychological Measurement, 60(6), 821-836.
Johnson, B., and Christensen, L. (2012). Educational Research: Quantitative, Qualitative, and Mixed Approaches. (4th ed.). Thousand Oaks, CA: SAGE Publication, Inc.
Kerlinger, F. N. (1986). Foundations of Behavioral Research. New York: Holt, Rinehart and Winston.
Lastrucci, C. L. (1963). The Scientific Approach: Basic Principles of Scientific Method. Cambridge, MA: Schenkman Publishing Company.
Singleton Jr., R. A., Straits, B. C., and Straits, M. M. (1993). Approach to Social Research. (2nd ed.). New York: Oxford University Press.
Saldivar, M. G. (2012). A Primer on Survey Response Rate. Tallahassee, FL: Learning Systems Institute, Florida State University.
Sudman, S., and Blair, E. (1998). Marketing Research: A Problem Solving Approach. Boston: McGraw Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.