ภูมิปัญญากับการพัฒนาท้องถิ่น

ผู้แต่ง

  • พัทธ์ธีรา ด่านประเสริฐชัย นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • ณัฐฐาพร สุขแย้ม นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • วดีรัตนา จันทร์ประสิทธิ์ นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • พวงเพชร ส้มทอง นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • นันทพันธ์ คดคง วิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

คำสำคัญ:

ภูมิปัญญา, การพัฒนาท้องถิ่น, ชุมชนท้องถิ่น

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาหาความรู้ในเรื่องของภูมิปัญญากับการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อให้ทราบบทบาทและความสำคัญในด้านต่างๆ ของการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อการพัฒนา ศึกษาแนวคิดสำคัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นบนพื้นฐานภูมิปัญญา และศึกษาการพัฒนาท้องถิ่นด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลการศึกษาพบว่าการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในปัจจุบัน มีแนวคิด มาจากปัญหาที่ชุมชนท้องถิ่นนั้นพบเจอ ทำให้เกิดการตรึกตรองว่า ทำอย่างไรจึงจะพึ่งพาตนเองได้ โดยการคำนึงถึงรากเหง้าตามวิถีวัฒนธรรมเดิมที่มีอยู่ในชุมชนท้องถิ่น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพึ่งพาตนเอง โดยอาศัยทุนทางปัญญา ทุนทางสังคมวัฒนธรรม และทุนทางทรัพยากร ที่มีอยู่ในชุมชนท้องถิ่นนำมาใช้ในการพัฒนา ซึ่งนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน  ภูมิปัญญาท้องถิ่นจะช่วยพัฒนาบุคคล ช่วยการปฏิบัติงานและช่วยในการดำรงชีวิต ซึ่งมีผลต่อการพัฒนาสังคมและประเทศชาติและมีความสำคัญในหลายระดับ ต่อบุคคล องค์กร และสังคม

References

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. (2562). มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม.. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2564 จากhttp://book.culture.go.th/ich62/mobile/index.html#p=1

ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ. (2551). การสังเคราะห์นิยามและแนวคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย. วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 1(1), 50-59.

ชวน เพชรแก้ว. (2547). การยกระดับและการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในสถานการณปัจจุบัน. วารสารภาษาไทย, 3(3), 14-21.

ประเวศ วะสี. (2522). กระบวนทรรศน์ใหม่ในการพัฒนาประเทศไทย: ท้องถิ่นเข้มแข็ง (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.).

ปาริชาติ วลัยเสถียร. (2549). กระบวนการเรียนรู้และการจัดการความรู้ของชุมชน. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์, สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2564 จาก https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=

รัตนา โตสกุล และคณะ. (2548). เดินที่ละก้าว กินข้าวที่ละคำ: ภูมิปัญญาในการจัดการความรู้ของชุมชน (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สิริยา รัตนช่วย. (2560). การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นภายใต้พลวัตของโลกยุคใหม่. วารสารการเมืองการปกครอง, 7 (1), 79-81.

สมจิต พรหมเทพ. (2543). รายงานการวิจัยการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านของประชาชนชนบท. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2526). การพัฒนาชุมชน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

อัจฉรา รักยุติธรรม. (2554). การพัฒนาทางเลือกกระแสหลัก. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 30 (2),13-43.

อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2544). มิติชุมชน: วิธีคิดท้องถิ่นว่าด้วยสิทธิอำนาจและการจัดการทรัพยากร. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

เผยแพร่แล้ว

12-07-2025

How to Cite

ด่านประเสริฐชัย พ. ., สุขแย้ม ณ. ., จันทร์ประสิทธิ์ ว. ., ส้มทอง พ. ., & คดคง น. . (2025). ภูมิปัญญากับการพัฒนาท้องถิ่น. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 5(1), 48–70. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/RJPA/article/view/2124