การนำนโยบายที่อยู่อาศัยสาหรับผู้มีรายได้น้อยไปปฏิบัติ
กรณีศึกษา กรมธนารักษ์ และการเคหะแห่งชาติ
คำสำคัญ:
การนำนโยบายไปปฏิบัติ, ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้น้อย, กรมธนารักษ์, การเคหะแห่งชาติบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อจำแนกผลผลิต และผลลัพธ์ ของการนำนโยบายที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยไปปฏิบัติ: กรณีศึกษา กรมธนารักษ์ และการเคหะแห่งชาติ และเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พร้อมด้วยการศึกษาปัญหาอุปสรรค โดยการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 37 ราย และข้อมูลทุติยภูมิ จากข้อมูลเชิงเอกสารและข้อมูลที่เผยแพร่ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งผลการวิจัย พบว่า (1) กฎ ระเบียบ และข้อบังคับ มีบทบาทสำคัญในกระบวนการนานโยบายไปปฏิบัติ (2) กรณีศึกษาทั้งสองกรณีไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของการนำนโยบายที่อยู่อาศัยสาหรับผู้มีรายได้น้อยไปปฏิบัติในประเด็นที่เกี่ยวกับผลลัพธ์ที่ได้ เนื่องจากมีจำนวนผู้มีรายได้น้อยเข้าถึงโครงการได้น้อยราย และ (3) ปัญหาอุปสรรคหลักของการนำนโยบายไปปฏิบัติ คือความสามารถในการได้รับอนุมัติสินเชื่อจากสถาบันทางการเงิน เพราะเหตุว่าเป็นผู้มีรายได้น้อย
References
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). แผนที่ความยากจนของประเทศไทย พ.ศ. 2560 ทั่วราชอาณาจักร. ค้นเมื่อ 9 มกราคม 2562, จาก http://service.nso.go.th
ทิพาพร พิมพิสุทธิ์. (2558). หลักจริยธรรม ผู้นำ และนโยบายสาธารณะ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). หนี้ครัวเรือนไทย: ข้อเท็จจริงที่ได้จาก BOT-Nielsen household financial survey. ค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562,จาก https://www.bot.or.th
วรเดช จันทรศร. (2556). ทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ 2 (12 กันยายน 2558-12 กันยายน 2559). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรี.
Ahmed, A., & amp; Al-Roubaie, A. (2013). Poverty in the Arab world: The use of ICT. World Journal of Science, Technology and Sustainable Development, 10(3), 195-211.
Alexander, E. R. (1989). Planning and plan implementation: Notes on evaluation criteria. Environment and Planning B: Planning and Design, 16(2), 127-140.
Chakrabarty, B., & Chand, P. (2012). Public administration in a globalizing world theories and practices. New Delhi, India: Sage.
Hambleton, R. (1983). Planning systems and policy implementation. Journal of Public Policy, 3(4), 397-418.
Khan, A. R. (2016). Policy Implementation: Some Aspects and Issues. Journal of Community Positive Practices, 15(3), 3-12.
Meyers, D. C., Durlak, J. A., & Wandersman, A. (2012). The quality implementation framework: A synthesis of critical steps in the implementation process. American Journal of Community Psychology, 50, 462-480.
Morris, P. W. G. (2006). Initiation strategies for managing major projects. In P. C. Dinsmore (Ed.), The AMA handbook of project management (2nd ed., pp. 33-46). New York: American Management Association.
Jang, Y. S., Ott, J. S., & amp; Shafritz, J. M. (2011). Classic readings in organization theory. Boston: Wadsworth Cengage Learning.
Mazmanian, D. A., & Sabatier, P. A. (1983). Implementation and public policy. New York: Harper Collins.
Rolstadås, A., Tommelein, I., Schiefloe, P. M., & Ballard, G. (2014). Understanding project success through analysis of project management approach. International Journal of Managing Projects in Business, 7(4), 638-660.
United Nations. (2015). Universal declaration of human rights. New York: Author.
Van Meter, D. S., & Van Horn, C. (1975). The policy implementation process: A conceptual framework. Administration & Society, 6(4), 445-488.
Yin, R. K. (2018). Case study research and applications: Design and methods (6th ed.). Thousand Oaks, CA: Sage.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2025 ชยพล หอมเกษร, รวิภา ธรรมโชติ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.