เศรษฐกิจการเมืองของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในพื้นที่ภาคใต้ พ.ศ. 2557-2564
คำสำคัญ:
เศรษฐกิจการเมือง, สิ่งศักดิ์สิทธิ์, พื้นที่ภาคใต้บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาที่มาทางความเชื่อ ประวัติศาสตร์ ประเพณีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์และศึกษาผลของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในภาคใต้ เชิงเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม การเมือง โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงเอกสาร ใช้การสัมภาษณ์ และการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม ได้แก่ ผู้ให้เช่าวัตถุมงคล (แผงพระ) ประชาชนที่มากราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในภาคใต้ นักการเมืองและนักการเมืองท้องถิ่น ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนในภาคใต้ที่มีปัญหาทางด้านจิตใจ เข้าไปพึ่งพาสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อทำบุญขอพร สะเดาะเคราะห์ ฯลฯ ก่อให้เกิดวงเงินสะพัดในระบบเศรษฐกิจ และก่อให้เกิดธุรกิจต่อเนื่อง เช่น ธุรกิจสร้างวัตถุมงคล ธุรกิจนิตยสารพระเครื่อง ธุรกิจท่องเที่ยว ธุรกิจโรงแรมและที่พัก ฯลฯ รวมทั้งยังก่อให้เกิดการกระจายรายได้ ยกระดับการครองชีพและความเป็นอยู่ของชุมชนให้ดีขึ้น ทั้งยังรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่งและการท่องเที่ยว
References
กระทรวงพาณิชย์, สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า. (2563). แผนปฏิบัติราชการปี 2564 ของสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564, จาก http://www.tpso .moc.go.th/th/node/10866
คมชัดลึกออนไลน์. (2557). ประยุทธ์-เหล่าทัพ ‘แถลง’ ควบคุมอำนาจรัฐ. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564, จากhttps://www.komchadluek.net/news/185160
ชไมพร เจริญครบุรี. (2559). กระบวนการสร้างความหมายใหม่บนประสบการณ์เดิมของบุคคลต้นแบบในสังคมไทย. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ธนภณ พันธเสน. (2550). อิทธิพลของจิตวิวัฒน์ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงสู่การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์แบบยั่งยืน. วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง, 5(2), 115-131.
นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2534). ทฤษฎีและแนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาชนบท. ในเอกสารการสอน ชุดวิชาคหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาชุมชน (หน่วยที่ 1, หน้า 1-47). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พระไพศาล วิสาโล. (2548). จิตผลิบาน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สายธุรกิจ.
วรนันท์ ลิมปสถิรกิจ. (2553). ความเชื่อที่ถูกทำให้เป็นสินค้า: ศึกษากรณีเบี้ยแก้วัดกลาง-บางแก้ว อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิรัช เตียงหงษากุล. (2529). การพัฒนาชุมชนตามแนวความคิดนักปรัชญาตะวันตก. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
สถาบันการศึกษาสัตยาไส. (2543). เด็กกับสติปัญญาทางศีลธรรม ทางรอดของมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สนธยา พลศรี. (2547). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
สุภางค์ จันทวานิช. (2554). ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Baker, D. (2006). The political economy of fascism: Myth or reality, or myth and reality?. New Political Economy, 11(2), 227-250.
Fowler, J. (1987). Organizations climate: A review of theory and research. Psychological Bulletin, 81, 1096-1112.
Gruble, A. (1988). The free economy and strong state. Durham, NC: Duke University Press.
Hay, C. (1999). The political economy of new labour. Manchester, England: Manchester University Press.
Mayer, C. S. (1988). In search of stability: Explorations in historical political economy. Cambridge, England: Cambridge University Press.
Monotheism. (2012). Encyclopædia Britannica. Retrieved 12 January, 2021, from http://www.britannica.com/EBchecked/topic
/390101/monotheism
Wilber, K. (2001). Eye to eye: The quest for the new paradigm (3th ed.). Boston: Shambhala.
สัมภาษณ์ส่วนบุคคล
กิติศักดิ์ พ้นภัย. การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล, 30 ธันวาคม 2564.
ชวัลวิทย์ เชื้อทอง. การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล, 15 ธันวาคม 2564.
ชิษณุพงศ์ โพธ์งาม. การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล, 10 ธันวาคม 2564.
ธิติรัตน์ เหล่าคมพฤฒาจารย์. การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล, 1 ธันวาคม 2564.
อนันต์ รัศมี. การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล, 30 ธันวาคม 2564.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2025 ปัญญา อุดมประสงค์สุข

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.