นโยบายการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ผู้แต่ง

  • นเรศร์ ธนสัตย์สถิต นักศึกษาโครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการเมือง มหาวิทยาลัยรามคาแหง

คำสำคัญ:

แรงงานต่างด้าว, การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019, สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาการดำเนินงานและปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง รวมไปถึงความสัมพันธ์ทางการเมืองกับนโยบายการจัดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของภาครัฐที่ส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองไทย ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การดำเนินงานของสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองในสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสในครั้งนี้ต้องเป็นไปตามนโยบายของภาครัฐ เพื่อให้ทันกับสถานการณ์การแพร่ระบาดที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งการแพร่ระบาดในครั้งนี้ส่งผลกระทบ ต่อการปฏิบัติงานของสานักงานตรวจคนเข้าเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อม ส่วนปัจจัยด้านเศรษฐกิจเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวของสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนั้น ยังมีปัจจัยย่อยอื่นที่ส่งผลกระทบกับการดำเนินงานของสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองอีกจานวนหนึ่ง โดยความสัมพันธ์ทางการเมืองกับนโยบายการจัดการการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของภาครัฐในครั้งนี้ถือเป็นบทเรียนที่รัฐบาลต้องเริ่มมีแผนรองรับปฏิบัติการที่มุ่งเน้นการเตรียมความพร้อมฉุกเฉินด้านสาธารณสุขอย่างเข้มข้นไปจนถึงจัดตั้งกลไกการขับเคลื่อนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนในการปฏิบัติร่วมกัน ซึ่งการกำหนดนโยบายให้แรงงานต่างด้าวที่ผิดกฎหมายในประเทศไทยทั้งหมดสามารถขึ้นทะเบียนให้เป็นแรงงานที่ถูกต้องได้นั้น ถือเป็นนโยบายที่ผิดพลาดของภาครัฐในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโรคที่ไม่คำนึงถึงผลกระทบด้านอื่นตามมา และเป็นการเปิดช่องว่างให้เกิดการทุจริตและกระทำผิดกฎหมายขึ้นมาได้ จึงถือเป็นบทเรียนที่รัฐต้องตระหนักและต้องมีแผนรองรับการปฏิบัติที่ไม่อาจเป็นตามวัตถุประสงค์ของการกำหนดนโยบายดังกล่าว

References

กรมควบคุมโรค. (2564). สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการสาธารณสุขและปัญหาอุปสรรคการป้องกันควบคุมโรคในผู้เดินทาง. ค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2565, จาก https://ddc.moph.go.th/uploads/cheditor2/files/pdf

ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การอนุญาตให้คนต่างด้าวทางานในราชอาณาจักรเป็นการเฉพาะสาหรับคนต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2563. (2563). ราชกิจจานุเบกษา, 137(305ง), 16-19.

มยุรี อนุมานราชธน. (2546). การบริหารโครงการ. เชียงใหม่: คนึงนิจการพิมพ์.

ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ และสิรวิชญ์ รัตนประทีปทอง. (2563). ผลกระทบของ Covid-19 ที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย. ค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2565, จาก https://tdri.or.th/2020/08/covid-19-impact-on-migrant-workers/

วรเดช จันทรศร. (2551). ทฤษฎีการนานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สมาคมนักวิจัยมหาวิทยาลัยไทย.

วิชาดา ไตรรัตน์. (2540). ปัญหาและอุปสรรคในการนานโยบายการจัดระบบเพื่อควบคุมการทางานของแรงงานต่างชาติผิดกฎหมายไปปฏิบัติ. วิทยานิพนธ์สังคมศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สมชัย รักวิจิตร. (2521). ตอบคาถามเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ. กรุงเทพมหานคร: กรุงสยามการพิมพ์.

สานักงานตรวจคนเข้าเมือง. (2563). รูปแบบมาตรฐานการปฏิบัติภายใต้ New Normal ของสานักงานตรวจคน เข้าเมือง. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

สานักบริหารแรงงานต่างด้าว. (2566). สถิติจานวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทางานคงเหลือทั่วราชอาณาจักร ประจาเดือน กุมภาพันธ์ 2566. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

Regalado, A. (2020). What is herd immunity and can it stop the coronavirus?. [Online]. Available URL: https://www.technologyreview.com/2020/03/17/905244/what-is-herd-immunity-and-can-it-stop-the-coronavirus/

เผยแพร่แล้ว

16-08-2023

How to Cite

ธนสัตย์สถิต น. . (2023). นโยบายการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 6(2), 161–184. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/RJPA/article/view/1833