บทบาท และอำนาจการตัดสินใจในองค์การ

ผู้แต่ง

  • วิโรจน์ ก่อสกุล คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

บทบาท, อำนาจการตัดสินใจ, องค์การ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผู้มีบทบาท และอำนาจการตัดสินใจในองค์การ และเพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปเผยแพร่ต่อสาธารณะ จากการศึกษา พบว่า ผู้มีบทบาท และอำนาจการตัดสินใจในองค์การมีหลายปัจจัย ทั้งจากภายในและภายนอกองค์การ ผู้มีบทบาทและมีอำนาจการตัดสินใจองค์การภาครัฐ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร ผู้บริหารระดับสูง และผู้ปฏิบัติงานหลัก ส่วนองค์การภาคเอกชน ได้แก่ เจ้าของหรือผู้ลงทุนตามสัดส่วนการลงทุน ส่วนผู้มีบทบาทและอำนาจการตัดสินใจภายนอกองค์การ ที่เหมือนกันทั้งองค์การภาครัฐและองค์การภาคเอกชน ได้แก่ สาธารณชน ส่วนที่แตกต่างกัน สำหรับการตัดสินใจจากภายนอกองค์การภาครัฐ คือประชาชนเป็นผู้มีอำนาจตัดสินใจโดยอ้อมผ่านการเลือกตั้ง ในขณะที่องค์การภาคเอกชน ได้แก่ ลูกค้า ผู้จัดหาวัตถุดิบ ตัวแทนจำหน่าย และคู่แข่งทางธุรกิจ

References

คมชัดลึกออนไลน์. (13 มีนาคม 2566). ปรากฏการณ์พรรคการเมืองหาเสียงผ่าน Social เลือกตั้ง 66. (2566, มีนาคม 13). ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.komchadluek.net/news/politics/544889

ณัฐวุฒิ แสงชูวงษ์. (2566). ส่องกลยุทธ์หาเสียงผ่านโซเชียลมีเดียและ TiK Tok ของพรรคก้าวไกล เจาะคนรุ่นใหม่ในการเลือกตั้งปี 66. ค้นเมื่อ 18 พฤษภาคม 2566, จาก

https://www.beartai.com/article/tech-article

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน. (2554ก). บทบาท. ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2566, จาก http://rirs3.royin.go.th/word1/word-1-a0.asp

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน. (2554ข). องค์การ .ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2566, จากhttp://rirs3.royin.go.th/word1/word-1-a0.asp

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2560 (2560, 7 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134,ตอน 105 ก. หน้า 1-41. จากhttps://ojc.coj.go.th/th/category/

แพทยสภา .(2549). ข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549, ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.tmc.or.th/service_law02.php

สานักงานคณะกรรมการเลือกตั้ง กรุงเทพมหานคร. (2566). เอกสารแนะนาตัวผู้สมัครและพรรคการเมือง การเลือกตั้งสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง กรุงเทพมหานคร เขตเลือกตั้งที่ 12. สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

สานักงานศาลยุติธรรม. (2556). ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ 2556. ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2566, จาก https://ojc.coj.go.th/th/content/page/index/id/8867

Barnard, C. (1976). The function of the executive. Cambridge, MA: Harvard University Press.

Gross, E. & Etzioni, A. (1985). Organizations in society. Englewood Cliff, NJ: Prentice-Hall Inc.

Mintzberg, H. (1983). Structure in fives: Designing effective organization. Englewood Cliff, NJ: Prentice-Hall Inc.

Shafritz, J. M., & Ott, J. S. (2001). Classics of organization theory (5th ed.). Orlando, Fl: Harcourt Collage publishers.

Simon, H, A. (1976). Administrative behavior (3rd ed.) New York: The Free Press.

Weber, M. (1947). The Theory of social and economic organization. New York: The Free Press

เผยแพร่แล้ว

16-08-2023

How to Cite

ก่อสกุล ว. (2023). บทบาท และอำนาจการตัดสินใจในองค์การ. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 6(2), 44–63. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/RJPA/article/view/1827